ฉบับร่าง:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งถัดไป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งถัดไป

← พ.ศ. 2566 ไม่เกิน 27 มิถุนายน พ.ศ. 2570

ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก
  First party Second party Third party
 
Pita Limjaroenrat September 2023.jpg
Paetongtarn Shinawatra.jpg
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
ผู้นำ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แพทองธาร ชินวัตร อนุทิน ชาญวีรกูล
พรรค ก้าวไกล เพื่อไทย ภูมิใจไทย
ผู้นำตั้งแต่ 23 กันยายน 2566[a] 27 ตุลาคม 2566 14 ตุลาคม 2555
เขตของผู้นำ บัญชีรายชื่อ (#1) N/A บัญชีรายชื่อ (#1)
เลือกตั้งล่าสุด 151 ที่นั่ง, 36.54% 141 ที่นั่ง, 27.74% 71 ที่นั่ง, 2.88%
ที่นั่งก่อนหน้า 148 141 71

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
Pirapan Salirathvibhaga, 2009.jpg
Chalermchai Srion (cropped).jpg
ผู้นำ ประวิตร วงษ์สุวรรณ พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค เฉลิมชัย ศรีอ่อน
พรรค พลังประชารัฐ รวมไทยสร้างชาติ ประชาธิปัตย์
ผู้นำตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2563 3 สิงหาคม 2565 9 ธันวาคม 2566
เขตของผู้นำ บัญชีรายชื่อ (#1) N/A N/A
เลือกตั้งล่าสุด 40 ที่นั่ง, 1.36% 36 ที่นั่ง, 12.06% 25 ที่นั่ง, 2.34%
ที่นั่งก่อนหน้า 40 36 25

  Seventh party Eighth party Ninth party
 
Varawut Silpa-archa in 2023.png
Tawee Sodsong in 2022.png
Sudarat Keyuraphan in 2019.png
ผู้นำ วราวุธ ศิลปอาชา ทวี สอดส่อง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
พรรค ชาติไทยพัฒนา ประชาชาติ ไทยสร้างไทย
ผู้นำตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2565 26 สิงหาคม 2566 9 กันยายน 2565
เขตของผู้นำ บัญชีรายชื่อ (#1) บัญชีรายชื่อ (#2) บัญชีรายชื่อ (#1)
เลือกตั้งล่าสุด 10 ที่นั่ง, 0.51% 9 ที่นั่ง, 1.61% 6 ที่นั่ง, 0.91%
ที่นั่งก่อนหน้า 10 9 6

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
เพื่อไทย

ว่าที่นายกรัฐมนตรี

รอประกาศ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปครั้งถัดไป เป็นการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทยครั้งที่ 28 จัดขึ้นไม่เกินวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2570

เบื้องหลัง[แก้]

ภายหลังจาก การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 พรรคก้าวไกลได้คะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่ง มีสิทธิ์อันชอบธรรมในการจัดตั้งรัฐบาล ทว่าด้วยกลไกที่บิดเบี้ยว ทำให้ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ และไม่สามารถส่ง พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จนเมื่อพรรคเพื่อไทยซึ่งชนะเป็นลำดับสองรองลงมา เป็นฝ่ายจัดตั้งรัฐบาลแทน กลับใช้วิธีการ สลายขั้ว ร่วมกันกับพรรคการเมืองบางพรรคที่เคยประกาศไว้แล้วว่า จะไม่มีทางจับมือ และเสนอ เศรษฐา ทวีสิน ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในที่สุด


การย้ายสังกัดพรรคการเมือง[แก้]

พรรคก้าวไกล (3)[แก้]

ย้ายไปพรรคเป็นธรรม

ย้ายไปพรรคชาติพัฒนากล้า

  • วุฒิพงษ์ ทองเหลา สส.ปราจีนบุรี

ย้ายไปพรรคไทยก้าวหน้า

  • ไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ สส.กรุงเทพมหานคร

พรรคไทยสร้างไทย (2)[แก้]

ย้ายไปพรรคก้าวไกล

  • สรวิศ เดชเสน อดีตผู้สมัคร สส.ยโสธร
  • วรายุทธ จงอักษร อดีตผู้สมัคร สส.ยโสธร

พรรคประชาธิปัตย์ (1)[แก้]

ย้ายไปพรรคเพื่อไทย

  • พายุ เนื่องจำนงค์ อดีตผู้สมัคร สส.บัญชีรายชื่อ

พรรคเพื่อไทย (1)[แก้]

ย้ายไปพรรคก้าวไกล

พรรคภูมิใจไทย (1)[แก้]

ย้ายไปพรรคก้าวไกล

ผลสำรวจ[แก้]

พรรคที่ต้องการ[แก้]

ระยะเวลาการสำรวจ องค์กรที่สำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ก.ก. พท. รทสช. ภท. ปชป. ยังไม่ตัดสินใจ อื่นๆ คะแนนนำ
11–13 มีนาคม 2567 นิด้าโพล 2,000 48.45 22.10 5.10 1.70 3.50 12.75 6.40 26.35
13–18 ธันวาคม 2566 นิด้าโพล 2,000 44.05 24.05 3.20 1.75 3.60 16.10 7.25 20.00
14 พฤษภาคม 2566 การเลือกตั้ง 2566 37.99 28.84 12.54 2.99 2.43 15.21 9.15

นายกรัฐมนตรีที่ต้องการ[แก้]

ระยะเวลาการสำรวจ องค์กรที่สำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คะแนนนิยม (%) คะแนนนำ (%)
พีระพันธุ์ สุดารัตน์ แพทองธาร เศรษฐา พิธา เฉลิมชัย อนุทิน ยังไม่ตัดสินใจ อื่น ๆ
รทสช. ทสท. พท. กก. ปชป. ภท.
11–13 มีนาคม 2567 นิด้าโพล 2,000 3.55 2.90 6.00 17.75 42.45 –– 1.45 20.05 5.85 22.40
13-18 ธันวาคม 2566 นิด้าโพล 2,000 2.40 1.65 5.75 22.35 39.40 –– 1.70 22.85 3.90 17.05

หมายเหตุ[แก้]

  1. ในฐานะประธานที่ปรึกษาหัวหน้าพรรค หัวหน้าพรรค คือ ชัยธวัช ตุลาธน