ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน252,425
ผู้ใช้สิทธิ81.32%
  First party Second party Third party
 
อาทิตย์ กำลังเอก.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ อาทิตย์ กำลังเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ พิชัย รัตตกุล
พรรค ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Fourth party
 
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 1 ที่นั่ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเลย, อำเภอเชียงคาน, อำเภอท่าลี่, อำเภอภูเรือ, อำเภอด่านซ้าย, อำเภอนาแห้ว และกิ่งอำเภอภูหลวง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเลย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก (7) 91,117
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประชา บุณยเนตร (8)* 52,992
ประชาธิปัตย์ วัชรินทร์ เกตะวันดี (1)* 47,868
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) คณิศร อินทรตระกูล (9) 2,364
พลังธรรม ทองหล่อ ศรีหนารถ (5) 2,068
ประชาธิปัตย์ อุดม อ่ำแย้ม (2) 2,030
พลังธรรม สมชาย ประเสริฐศรี (6) 1,722
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ทองใบ บุญชิต (4) 451
ประชาชน (พ.ศ. 2531) อุทัย ทองเพชร (3) 403
มวลชน วีระศักดิ์ เลี่ยมทอง (12) 202
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไพรัช ไชยสมคุณ (10) 176
มวลชน ปัญญา ชาญวิเศษ (11) 132
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวังสะพุง, อำเภอปากชม, อำเภอภูกระดึง, กิ่งอำเภอผาขาว และกิ่งอำเภอนาด้วง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเลย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พินิจ สิทธิโห (3) 58,285
ชาติไทย ทศพล สังขทรัพย์ (9)✔ 40,181
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข (7)* 32,943
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เสริม คูณแสน (4) 17,585
พลังธรรม สิบตำรวจโท จำนงค์ ขันติวิริยะกุล (2) 2,668
พลังธรรม วิเชียร ถาวงษ์กลาง (1) 2,365
ประชาธิปัตย์ จำปี วงษ์ศึก (12) 2,279
ประชาธิปัตย์ บุญมา สุขปื้อ (11) 1,866
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ไพบูลย์ หล้าภูเขียว (5) 1,625
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ชาญชัย จิตต์ชื่น (6) 1,128
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วัฒวุฒิ ศรีบัวรินทร์ (13) 1,084
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ก้องเกียรติ ณ ระนอง (8) 1,080
ชาติไทย วิวัฒน์ วงศ์หิริวรกุล (10) 495
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จันโท ทุมมาคำ (14) 489
มวลชน เบญจา วอหล้า (16) 287
มวลชน ชัยศักดิ์ เนียมกัน (15) 115
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
ชาติไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532