ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเลยในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน246,937
ผู้ใช้สิทธิ76.65%
  First party Second party Third party
 
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Siddhi Savetsila (1980).jpg
ผู้นำ บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ พิชัย รัตตกุล สิทธิ เศวตศิลา
พรรค สหประชาธิปไตย ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Fourth party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดเลยทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเลย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข (5) 70,083
สหประชาธิปไตย ประชา บุณยเนตร (4)* 65,781
ประชาธิปัตย์ วัชรินทร์ เกตะวันดี (1)* 44,944
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประดิษฐ์ เสริฐศรี (13)✔ 37,530
ชาติไทย สมมุติ สัจจพงษ์ (20)✔ 36,642
ประชาธิปัตย์ พินิจ สิทธิโห (3) 30,096
ชาติไทย ธงชัย นิกรสุข (19) 19,940
ประชากรไทย วิม บุตรชัยงาม (7) 19,039
กิจสังคม เจริญ กันแพงศรี (17) 14,823
ประชาธิปัตย์ นุรักษ์ สิมสวัสดิ์ (2) 14,611
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สะดวก เชื้อบุญมี (14)✔ 14,363
ประชากรไทย อุทัย ทองเพชร (8) 13,740
สหประชาธิปไตย ชาญยุทธ สุทธิรักษ์ (6)✔ 13,086
ประชากรไทย ไพบูลย์ หล้าภูเขียว (9) 10,692
กิจประชาคม รักเกียรติ แสงชมภู (10) 8,935
ชาติไทย คณิศร อินทรตระกูล (21) 6,671
กิจสังคม สมโภช มะละคำ (16) 6,425
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อุดร จันทะวัน (29) 6,170
กิจประชาคม ประเสริฐ ทาสาลี (12) 5,155
ราษฎร (พ.ศ. 2529) นันท์ สุขจันดา (15) 2,926
กิจสังคม เกษม นนทะโคตร (18) 2,811
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชาญยุทธ นครธรรม (26) 2,762
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อาณัติ ช้างอินทร์ (25) 2,627
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นาวาตรี สุทัศน์ พิลาล้ำ (27) 2,254
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วีระพงษ์ วงศ์คำ (30) 1,940
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ศุภฤกษ์ อินทรตระกูล (28) 1,860
กิจประชาคม นพดล ทองปน (11) 1,762
แรงงานประชาธิปไตย บุญเลิศ เพชรฤาชา (23) 1,513
แรงงานประชาธิปไตย ทองป่าย น้อยหมอ (22) 1,134
แรงงานประชาธิปไตย บานเย็น จันทจุล (24) 973
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530