ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเพชรบูรณ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเพชรบูรณ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน492,600
ผู้ใช้สิทธิ57.43%
  First party Second party Third party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล ชาติชาย ชุณหะวัณ เทียนชัย ศิริสัมพันธ์
พรรค ประชาธิปัตย์ ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Narong Wongwan.jpg
Uthai Pimchaichon 2004 (cropped).jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร ณรงค์ วงศ์วรรณ อุทัย พิมพ์ใจชน
พรรค กิจประชาคม รวมไทย (พ.ศ. 2529) ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Seventh party Eighth party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, กิ่งอำเภอน้ำหนาว, กิ่งอำเภอเขาค้อ และกิ่งอำเภอวังโป่ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเพชรบูรณ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิศัลย์ โฆษิตานนท์ (17) 89,344
กิจประชาคม จรัส พั้วช่วย (1)* 61,091
ชาติไทย ปัญจะ เกสรทอง (4)* 66,011
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไพศาล จันทรภักดี (10)* 55,796
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เทียนชัย อุทัยวงศ์ (18)✔ 30,229
กิจประชาคม ดำรง บัวชุม (2) 13,068
กิจประชาคม มนัส พรหมบุญ (3) 11,963
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พันตำรวจโท ประจบ จันทสิงห์ (15) 11,004
ประชากรไทย จักรกฤษณ์ สมสร้อย (7) 10,974
ชาติไทย สมรส เจริญพุฒ (5) 8,789
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิวัฒน์ ทองอินทร์ (11) 4,712
ชาติไทย อำนวย น้อยโสภา (6) 3,423
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประทวน กิ่มนอก (16) 2,817
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สนิท คล่องแคล่ว (14) 2,548
ประชากรไทย จักรี กาญจนะโกมล (8) 2,288
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิศิษฐ์ ชัยพิลา (12) 2,238
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สรพงศ์ ชาลี (19) 2,057
ประชากรไทย เกษา ศรีพล (9) 1,371
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พยม พวงจันทร์หอม (21) 1,281
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เอกชัย ชัยมงคลวิวัฒน์ (20) 1,264
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) มนัส พันธนะวาทิน (13) 1,206
สหประชาธิปไตย ดิเรก ขาวสะอาด (22) 662
สหประชาธิปไตย คำรณ ต้นเพชร (24) 599
สหประชาธิปไตย สมบูรณ์ บัวบาน (23) 427
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเพชรบูรณ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เอี่ยม ทองใจสด (3) 55,412
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล (10)✔ 46,340
ประชาธิปัตย์ วิเชียร สอนน้อย (1)* 43,617
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) แก้ว บัวสุวรรณ (14) 42,273
ประชาธิปัตย์ พิเชษฐ์ ฉัตรรัตนศักดิ์ (2) 39,484
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เกษม บุตรขุนทอง (13)* 30,677
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อนันต์ บูรณวนิช (4)✔ 29,339
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชั้น หุนทนทาน (11) 10,765
แรงงานประชาธิปไตย บัญญัติ ทือเกาะ (19)✔ 7,637
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ราชินทร์ จันทร์สิงหกุล (5) 4,363
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิวัฒน์ พิพัฒนกุล (12) 1,804
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สมคิด สัมฤทธิ์สุทธิ์ (17) 1,327
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทวิช ศรีฉ่ำ (15) 849
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) คณาวุธ อาจคงหาญ (16) 689
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ทรง พวงจันทร์หอม (18) 683
กิจประชาคม สุรพงษ์ ตระกูลพานิช (9) 683
สหประชาธิปไตย แป้น พุกสุข (23) 568
แรงงานประชาธิปไตย ทองใบ สุนทร (20) 531
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มนัส รอดเที่ยง (6) 528
กิจประชาคม สุวิทย์ ศรีป้อ (7) 520
สหประชาธิปไตย หม่อม ฤทธิ์เต็ม (24) 466
สหประชาธิปไตย บุญธรรม คำประกอบ (22) 368
กิจประชาคม นิพนธ์ อินแนน (8) 367
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นงลักษณ์ นนภักดี (27) 363
แรงงานประชาธิปไตย หาญ เขื่อนสันเที๊ยะ (21) 361
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นภา ทองไทย (26) 205
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประพิทย์ พุ่มโพธิ์ทอง (25) 192
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526)
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530