ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเชียงรายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเชียงรายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน699,520
ผู้ใช้สิทธิ65.99%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Somboon rahong.jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ สมบุญ ระหงษ์ มนตรี พงษ์พานิช
พรรค สามัคคีธรรม ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
มานะ รัตนโกเศศ.jpg
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
ผู้นำ มานะ รัตนโกเศศ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529) เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 1 4
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง4

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงราย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี (20)* 84,709
สามัคคีธรรม มงคล จงสุทธนามณี (1)* 81,787
สามัคคีธรรม สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ (2)✔ 71,030
ชาติไทย วิชัย เทพวัลย์ (21) 63,735
กิจสังคม วิจิตร ยอดสุวรรณ (10)✔ 41,701
กิจสังคม วีระพล มุตตามระ (11)* 32,588
กิจสังคม วัลลภ สุประดิษฐกุล (12) 27,582
ความหวังใหม่ สัณฐาน สุริยคำ (16) 14,193
ความหวังใหม่ บุญเลื่อน เกิดเพชร (17) 13,584
ความหวังใหม่ อนันต์ เรืองสังข์ (18) 6,521
สามัคคีธรรม อดุลย์ ดวงศรี (3) 5,086
ประชากรไทย สิบตรี เสน่ห์ ชำนาญกิจ (4) 3,137
ชาติไทย เพลิน จอมสว่าง (19) 2,558
ประชากรไทย ตงศักดิ์ ศักดิ์ศรีอมร (5) 2,490
ประชากรไทย อุทัย ใจแก้ว (6) 2,379
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศรีมุล ฟองเขียว (13) 1,546
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พรมมินทร์ กันทะวงค์ (15) 1,303
เอกภาพ สันติ ประสมกล้า (9) 1,158
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พิชัย วิลัยวงค์ (14) 1,155
เอกภาพ นาค พิมพิลา (8) 1,141
เอกภาพ ประพันธ์ วรวะลัย (7) 954
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย และกิ่งอำเภอเวียงแก่น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงราย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ทวี พุทธจันทร์ (6) 52,225
กิจสังคม สำเร็จ ภูนิคม (11)✔ 48,665
สามัคคีธรรม สมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ (5)* 39,610
ชาติไทย ประทวน รมยานนท์ (1)* 36,417
ความหวังใหม่ คำ ไชยวงค์ (13) 10,329
พลังธรรม เกษราพรรณ สมรัตน์ (15) 9,615
เอกภาพ เพิ่ม โสดาวัตร (7) 6,831
ประชากรไทย บัวผัน แสงแก้ว (4) 3,656
ประชากรไทย วิชาญ ยลสุข (3) 3,572
พลังธรรม ใส ถนอมวงค์ (16) 2,401
ชาติไทย ถวัลย์ ความชอบ (2) 1,987
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อัมพวัน วิวรรณ (10) 1,800
เอกภาพ มีศักดิ์ บุปผา (8) 1,079
ความหวังใหม่ ดนัย ชัยชนะ (14) 1,039
กิจสังคม สถิตย์ เรืองแสน (12) 999
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ธนาพล วิไลวงค์ (9) 617
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงราย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม วิสาร เตชะธีราวัฒน์ (2)* 55,333
สามัคคีธรรม ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค (1)✔ 43,211
กิจสังคม ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ (11)* 39,589
พลังธรรม สมาน แสนโยธา (3) 26,226
พลังธรรม ภานุพงศ์ พาณิชกระจ่าง (4) 22,451
กิจสังคม ประสิทธิ์ กอหลวง (12) 21,177
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อาทิตย์ วิลัยวงค์ (9)* 5,674
ประชาธิปัตย์ นิคม นามเสถียร (5) 4,066
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บัวผิน จันติยะ (10) 1,610
ประชาธิปัตย์ สถิตย์ ทะเรือน (6) 911
เอกภาพ จำรัส ใจเถิง (8) 413
เอกภาพ วรดิษฐ ประยงค์ย้อย (7) 385
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535