ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

12 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,040,281
ผู้ใช้สิทธิ63.97%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ ชวน หลีกภัย มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 5
ที่นั่งที่ชนะ 5 3 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 เพิ่มขึ้น1 ลดลง3

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Narong Wongwan.jpg
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Somboon rahong.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ บุญชู โรจนเสถียร สมบุญ ระหงษ์
พรรค สามัคคีธรรม เอกภาพ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 2 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง1 ลดลง2

  Seventh party
 
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 12 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, กิ่งอำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ธำรงค์ ไทยมงคล (4) 72,665
สามัคคีธรรม ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (13)* 70,413
ความหวังใหม่ สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (7)✔ 63,989
ชาติไทย พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (1)* 48,481
ความหวังใหม่ วิทยา ขันอาสา (8)* 38,571
พลังธรรม บัณฑิต จูมพระบุตร (19) 30,384
พลังธรรม อาคม ริมทอง (20) 26,106
พลังธรรม สิทธิไกรศร บุญจูง (21) 19,223
ความหวังใหม่ ณรงค์ จริยวิทยานนท์ (9) 6,311
สามัคคีธรรม สกุลรัตน์ กมุทมาศ (14) 5,005
กิจสังคม ประมวล อุ่นใจ (5) 3,454
ประชาธิปัตย์ เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (10)✔ 3,063
กิจสังคม บุญสาร วิชาชาติ (6) 2,804
ประชาธิปัตย์ นิคม สายสุวรรณ (11) 2,692
ชาติไทย สุเมธ สุธีร์ (3) 2,633
ชาติไทย มโนพร วาจรัต (2) 2,405
ประชาธิปัตย์ เทวินทร์ ทองเถาว์ (12) 2,043
มวลชน อภิศักดิ์ ขันสิงห์ (18) 1,374
มวลชน ศรีอุบล เกษรพุด (17) 897
สามัคคีธรรม สุรศักดิ เชื้อไทย (15) 880
เอกภาพ จรัล ภูมิภาค (22) 596
มวลชน พุทธา หริคำภา (16) 378
ประชากรไทย นิรันดร์ ศุภธีรารักษ์ (30) 362
ประชากรไทย เทพพงศ์ ยุวพันธ์ (29) 340
ประชากรไทย สัญญาศักดิ์ สมหมาย (28) 305
เอกภาพ ปรีชา สุขพันธ์ (23) 287
เอกภาพ ชาตรี โทบุดดี (24) 239
สหประชาธิปไตย ทนงศักดิ์ สุวรรณกูฎ (27) 135
สหประชาธิปไตย สถิตย์ สุยังกุล (25) 114
สหประชาธิปไตย เจียมศักดิ์ ยุวมิตร (26) 92
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย และอำเภอสิรินธร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ อิสสระ สมชัย (3)✔ 72,716
ความหวังใหม่ ตุ่น จินตะเวช (1)* 54,471
ความหวังใหม่ ปัญญา จินตะเวช (2)* 53,301
สามัคคีธรรม ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (7)* 50,290
สามัคคีธรรม สุชาติ ตันติวณิชชานนท์ (8) 32,670
กิจสังคม ปรีชา ภารการ (15) 31,819
สามัคคีธรรม นิทรา เทียมสุวรรณ (9) 31,255
กิจสังคม สมพงษ์ เศรษฐมาลย์ (14) 18,446
กิจสังคม อาจ บุญถม (13) 16,969
ชาติไทย นิราศ จันทรจิตร (17) 14,676
ชาติไทย เส็ง นามพรม (16) 10,722
ชาติไทย วัชรินทร์ อินทะนา (18) 8,397
ประชากรไทย เชาวน์พันธ์ เขียวสะอาด (21) 7,428
ประชากรไทย บัญญัติ ทองบุ (20) 4,018
ประชากรไทย สุรชาติ พวงจำปา (19) 3,533
ประชาธิปัตย์ อุดม พระเมเด (23) 2,755
เอกภาพ ฟอง ศรีวิไล (6) 2,535
เอกภาพ เดือน แสงชาติ (4) 2,381
ประชาธิปัตย์ พุฒิสรรค์ ทองคำพงษ์ (22) 2,004
เอกภาพ เดช รอบโลก (5) 1,893
รวมพลังใหม่ สมศรี ฐิตะสาร (12) 1,862
รวมพลังใหม่ พันตำรวจตรี สุขุม พันธุ์เพ็ง (10) 1,380
รวมพลังใหม่ อภิรักษ์ ไหวดี (11) 852
ประชาธิปัตย์ บรรจง ศรีจันทร์ (24) 682
เกษตรเสรี พันธิพงษ์ พาพันธ์ (32) 292
สหประชาธิปไตย ประจักษ์ อยู่คง (29) 287
เกษตรเสรี ทิวากร กันยามา (31) 278
สหประชาธิปไตย ไพรัช เพชราเวช (28) 260
เกษตรเสรี ตรรกพล อุ่นคำ (33) 226
สหประชาธิปไตย สิริศักดิ์ สุภาษร (30) 190
ชาวไทย สังคม ศรีจันทร์เติม (25)
ชาวไทย ดิเรก สิงห์ธรรม (26)
ชาวไทย ยัง โสภาสาย (27)
ประชาชาติ (พ.ศ. 2531) สุพัฒน์ แสนทวีสุข (34)
ประชาชาติ (พ.ศ. 2531) ไสว ศุภโกศล (35)
ประชาชาติ (พ.ศ. 2531) สัมฤทธิ์ ธุระพันธ์ (36)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอลืออำนาจ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น (4)* 94,001
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร (5) 76,176
ประชาธิปัตย์ ชัยพร ทองประเสริฐ (6) 59,741
ความหวังใหม่ ธีระชัย ศิริขันธ์ (2)✔ 54,972
ความหวังใหม่ สนิท จันทรวงศ์ (1)* 45,108
กิจสังคม ธนา เมตตาริกานนท์ (7)* 44,203
กิจสังคม ประมัย จึงจิตรักษ์ (8) 16,630
สามัคคีธรรม ประสิทธิ์ จันทวารา (10)✔ 9,223
ความหวังใหม่ พินิจ บุญรำไพ (3) 8,712
เอกภาพ วิชัย เสวะมาตย์ (13)✔ 7,912
กิจสังคม นิวัต ทองจำรัส (9) 944
ชาติไทย สมพร บุตตะ (22) 627
สามัคคีธรรม นิพนธ์ เพชรชารี (11) 533
สามัคคีธรรม ประเสริฐศักดิ์ บุญมี (12) 517
เกษตรเสรี สอน เนตรวงศ์ (21) 491
ชาติไทย อรุณี แสงชัย (23) 418
ชาติไทย มโนศักดิ์ โกศัลวัตร (24) 266
เกษตรเสรี ขันธ์ บุญเมือง (20) 246
เอกภาพ ประกอบ สุปันนุช (14) 204
สหประชาธิปไตย สมควร แก้ววันนา (17) 177
เอกภาพ ดนัยศักดิ์ มหาชนะวงศ์ (15) 169
สหประชาธิปไตย ชาตรี สุทธสิงห์ (18) 165
เกษตรเสรี อัครเดช ทองผุด (19) 151
สหประชาธิปไตย กิตติศักดิ์ ปัสสาราช (16) 100
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ดุสิต โสภิตชา (4)* 82,181
สามัคคีธรรม ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ (8)✔ 70,974
ความหวังใหม่ พันตรี พูนศักดิ์ พสุนนท์ (17) 50,033
สามัคคีธรรม อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (7)* 49,784
ความหวังใหม่ สุรศักดิ์ บัวขาว (16)* 46,691
กิจสังคม สวิง บุญเจิม (6) 21,548
กิจสังคม แสวง บุญเจิม (5) 19,917
ชาติไทย ประเวทย์ จันทวีศิริรัตน์ (10) 13,799
พลังธรรม ธรรมนูญ พิมพัฒน์ (13) 10,213
พลังธรรม เจษฎา อมตะไพบูลย์ (15) 10,084
พลังธรรม ร้อยเอก สุเนตร ปาวรีย์ (14) 9,934
ประชาธิปัตย์ เสรี วิชัย (3) 7,086
ประชาธิปัตย์ สดใส ปัญญาสาร (2) 5,959
ความหวังใหม่ ทองคำ เหล่าบุตรสา (18) 5,720
ประชาธิปัตย์ มานิตย์ ภู่กำชัย (1) 4,565
สามัคคีธรรม อภิชิต จำปานนท์ (9) 4,101
รวมพลังใหม่ สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (22)✔ 1,994
ชาติไทย จเร ไขแสง (11) 1,582
ชาติไทย มรินทร์ ผ่องแผ้ว (12) 1,533
เอกภาพ สัว โทบุดดี (19) 901
เกษตรเสรี อุดร สีหล้า (26) 588
เอกภาพ ธีรศักดิ์ ปทุมราษฎร์ (21) 562
เกษตรเสรี บุญร่วม วรจารุ (27) 557
เกษตรเสรี ชูชัย พิทักษ์พรพัลลภ (25) 459
รวมพลังใหม่ ปรีญา ทิพระษาหาร (24) 343
รวมพลังใหม่ อุดม ทองรุ่งโรจน์ (23) 279
เอกภาพ จำรัส ไกยสิทธิ์ (20) 278
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535