ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,061,711
ผู้ใช้สิทธิ63.71%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ ชวน หลีกภัย ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า 3 5 1
ที่นั่งที่ชนะ 6 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง3 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
Montri Phongphanit.jpg
Amnuay Viravan.jpg
ผู้นำ บรรหาร ศิลปอาชา มนตรี พงษ์พานิช อำนวย วีรวรรณ
พรรค ชาติไทย กิจสังคม นำไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1, 2 และ 3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ เกรียง กัลป์ตินันท์ (7)* 102,968 58.32
ความหวังใหม่ สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (9)* 88,902 50.35
ความหวังใหม่ สุพล ฟองงาม (8) 82,660 46.82
ประชาธิปัตย์ อดุลย์ นิลเปรม (1) 81,041 45.90
กิจสังคม ธำรงค์ ไทยมงคล (4)* 66,664 37.76
ประชาธิปัตย์ สมบัติ รัตโน (2) 47,471 26.88
ประชาธิปัตย์ วันยุทธ เหล็กกล้า (3) 11,741 6.65
กิจสังคม สมร รวมสา (6) 1,857 1.05
กิจสังคม เสมอทรัพย์ เพ็งนารินทร์ (5) 1,232 0.69
ประชากรไทย อภิญญา ภารการ (13) 560 0.31
มวลชน สมเกียรติ ดีเลิศ (10) 559 0.31
เสรีประชาธิปไตย พันโท เทียนชัย พันธชัย (19) 413 0.23
ไท (พ.ศ. 2539) ทองเพ็ชร ละออเอี่ยม (18) 325 0.18
เสรีประชาธิปไตย ชัยวรรธนะ โคตรสมบัติ (21) 306 0.17
มวลชน ไสว คำนนท์ (11) 290 0.16
ไท (พ.ศ. 2539) ปราโมทย์ โอบอ้วน (17) 290 0.16
ประชากรไทย ชัยพร พันธุ์เฉย (14) 284 0.16
มวลชน วินัย คำนนท์ (12) 237 0.13
ประชากรไทย วรจิตร์ พันธุ์เฉย (15) 237 0.13
เสรีประชาธิปไตย บุญทวี อมรสินธุ์ (20) 173 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) อำไพร พันธุ์นิล (16) 154 0.08
บัตรดี 176,544 96.54
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,685 1.47
บัตรเสีย 3,637 1.99
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 182,866 66.30
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 275,819 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย, กิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม และกิ่งอำเภอน้ำขุ่น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ตุ่น จินตะเวช (1)* 106,938 66.43
ความหวังใหม่ ปัญญา จินตะเวช (2)* 88,339 54.87
ชาติไทย ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (4)✔ 77,139 47.92
ประชาธิปัตย์ ประสิทธิ์ ณรงค์เดช (7)* 66,410 41.25
ประชาธิปัตย์ ประสพ สารสมัคร (8) 51,813 32.18
ความหวังใหม่ สุภา พรหมคุณ (3) 36,068 22.40
ประชาธิปัตย์ โอวาท จุลโคตร (9)✔ 18,131 11.26
ชาติไทย เกษร อินทะนา (6) 1,900 1.18
ชาติไทย พิชิต พัวเพิ่มพูลศิริ (5) 1,834 1.13
ไท (พ.ศ. 2539) สุรใจ เงาวรรณ์ (24) 340 0.21
ไท (พ.ศ. 2539) สีทน รสจันทร์ (23) 276 0.17
กิจสังคม เกรียงไกร ใจธง (10) 273 0.16
ไท (พ.ศ. 2539) สมชัย จุรัญชัย (22) 244 0.15
ประชากรไทย วาสน์ ณ อุบล (17) 207 0.12
ประชากรไทย เทวัญ สุวรรณกุฎ (18) 195 0.12
เสรีประชาธิปไตย ปรีดา สุวรรณพรม (21) 169 0.10
เสรีประชาธิปไตย ชาตรี ชุมเสน (19) 140 0.08
กิจสังคม เฉลิมศักดิ์ ถนอมพันธ์ (11) 139 0.08
กิจสังคม คงคา แก้วดวงงาม (12) 128 0.07
เสรีประชาธิปไตย สิทธิชัย จันทะเส (20) 127 0.07
ประชากรไทย ปรัชญา ภารการ (16) 119 0.07
มวลชน ชำนาญ กลิ่นหอม (14) 110 0.06
มวลชน วิฑูรย์ ศรีมันตะ (13) 98 0.06
มวลชน สวัสดิ์ ไทยกุล (15) 70 0.04
บัตรดี 160,970 96.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,134 0.68
บัตรเสีย 4,268 2.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 166,372 62.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 265,552 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก นำไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ (1)* 115,142 67.32
ประชาธิปัตย์ อิสสระ สมชัย (4)* 102,496 59.92
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สิทธิชัย โควสุรัตน์ (2)* 101,444 59.31
ความหวังใหม่ พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (13)✔ 78,885 46.12
ความหวังใหม่ ดวงณฤมล ปัญญาสาร (14) 13,176 7.70
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จามณี แจ่มกระจ่าง (3) 7,437 4.34
มวลชน สุรศักดิ์ บัวขาว (16)✔ 7,254 4.24
ความหวังใหม่ มโนพร วาจรัด (15) 4,628 2.70
ประชาธิปัตย์ วราภรณ์ ผิวผ่อง (5) 2,231 1.30
ประชาธิปัตย์ ชาญชัย ซื่อสัตย์บุญ (6) 1,331 0.77
กิจสังคม จำปี นิคหิต (12) 1,206 0.70
มวลชน เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (17)✔ 1,063 0.62
พลังธรรม สุพัฒน์ แสนทวีสุข (7) 811 0.47
พลังธรรม ประเสริฐ ก้องอุบล (8) 610 0.35
พลังธรรม แทนไท แก้วปัญญา (9) 503 0.29
มวลชน ประมูล แสงทอง (18) 343 0.20
กิจสังคม บรรจง เวชคง (11) 335 0.19
เอกภาพ ปฐมพงษ์ เรืองแสน (25) 253 0.14
ประชากรไทย ชวนพิศ ภารการ (24) 247 0.14
ประชากรไทย ปริญญา ศรีสุคนธรัตน์ (23) 235 0.13
เอกภาพ เทียมจันทร์ จันทร์อุตส่าห์ (27) 203 0.11
กิจสังคม ประพัฒน์ เวชคง (10) 179 0.10
เอกภาพ บรรจง เหล่าบุตรศรี (26) 173 0.10
ไท (พ.ศ. 2539) ปิยรัตน์ ไกรสรสวัสดิ์ (19) 158 0.09
ประชากรไทย อัจรา ศรีสุคนธรัตน์ (22) 140 0.08
ไท (พ.ศ. 2539) ทวี รองแก้ว (21) 106 0.06
ไท (พ.ศ. 2539) สาคร คุณทอง (20) 98 0.05
บัตรดี 171,029 97.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 850 0.48
บัตรเสีย 4,140 2.35
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 176,019 61.74
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 285,079 100.00
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ (3)* 87,747 59.27
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร (1)* 82,433 55.68
ประชาธิปัตย์ วิทยา ขันอาสา (2)✔ 68,689 46.40
กิจสังคม ดุสิต โสภิตชา (11)✔ 11,392 7.69
ความหวังใหม่ ธนพัฒน์ สุตัญตั้งใจ (4) 2,977 2.01
กิจสังคม วีระชัย ครองยุทธ (12) 2,123 1.43
ชาติไทย นันทิภา ภาวะบุตร (5) 705 0.47
ประชากรไทย กัลยา บุญอาจ (10) 296 0.19
ไท (พ.ศ. 2539) พรพรรณ วิเศษอักษร (13) 172 0.11
ชาติไทย พิศสวาท สีก่ำ (6) 135 0.09
ไท (พ.ศ. 2539) นารอน แสนทวีสุข (14) 122 0.08
ประชากรไทย ปรีชา ภารการ (9) 99 0.06
มวลชน ชม สีงาม (7) 74 0.04
มวลชน อุทัย เก็บเงิน (8) 53 0.03
บัตรดี 148,022 97.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 578 0.38
บัตรเสีย 2,538 1.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 151,138 64.24
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 235,261 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2025-01-22.