ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

12 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน767,085
ผู้ใช้สิทธิ66.47%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา เทียนชัย สิริสัมพันธ์ พิชัย รัตตกุล
พรรค กิจสังคม ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 9 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 7 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 เพิ่มขึ้น3 Steady0

  Fourth party Fifth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค กิจประชาคม ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 12 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (1)✔ 60,739
กิจสังคม สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (2)* 47,994
ประชาธิปัตย์ วิทยา ขันอาสา (9) 44,591
กิจสังคม พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (3)* 40,873
กิจประชาคม เฉลิมชัย สุวรรณมาศ (25) 29,734
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ (30) 24,909
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มนต์ชัย โควสุรัตน์ (4)* 23,189
ประชาธิปัตย์ เลิศ แก้วเนตร (7) 16,217
ประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ ชอบเสียง (8) 11,443
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สังวรณ์ ปรัสพันธ์ (28) 7,379
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บุญตา ยั่งยืน (15) 3,703
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จ่าสิบเอก เบ็ญจ ปริกสุวรรณ (13) 2,793
ประชากรไทย สุพจน์ คนตรง (11) 2,476
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จงรักษ์ โฆษิตากาศ (5) 2,475
ราษฎร (พ.ศ. 2529) กิติพงษ์ ไพกะเพศ (6) 2,300
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ไสว จังกาจิตต์ (29) 1,936
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) วารินทร์ ศรีแย้ม (16)✔ 1,782
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) วนิศร มุสิกสวัสดิ์ (18) 1,717
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ศศิธร มุสิกสวัสดิ์ (17) 1,586
ประชากรไทย กีรติ ธรรมวิมล (10) 1,410
ประชากรไทย กำจัด สุขศรี (12) 1,191
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จ่าสิบตำรวจ จรูญ เดชกล้า (24) 1,181
รักไทย พิจิตร เคนทรภักดิ์ (31) 1,067
แรงงานประชาธิปไตย ธรรมนูญ ป้องพาล (35) 973
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รัชนี บัวแสน (14) 942
รักไทย เสริม แสนทวีสุข (33) 722
รักไทย ธรรมนูญ พิมพัฒน์ (32) 667
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยตำรวจตรี มานิต มิ่งมาลี (23) 638
กิจประชาคม พิเชษฐ์ นามศิริ (27) 604
กิจประชาคม ร้อยเอก ขจร จันสุตะ (26) 580
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมเด่น บัวศรี (20) 467
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นาวาเอก ชลิต มุสิกโชติ (22) 451
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อ่อน หอยจันทร์ (19) 427
แรงงานประชาธิปไตย ประชารัตน์ วิเชียรเขตต์ (36) 304
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ท่อน ดอกเกษ (21) 278
แรงงานประชาธิปไตย สวาท ทองหล่อ (34) 254
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ผัน บุญชิต (10)* 54,891
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อิสสระ สมชัย (11) 41,840
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ดำรงค์ บุญชิต (12) 32,909
กิจสังคม ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (1)* 31,734
กิจประชาคม ตุ่น จินตะเวช (28)* 24,047
กิจประชาคม ปัญญา จินตะเวช (29) 19,088
ประชาธิปัตย์ กิ่งแก้ว พวงจำปา (14) 13,787
ชาติไทย ปรีชา ภารการ (7) 11,150
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (16)✔ 10,174
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท สิทธิพล ฟื้นแสน (13) 9,115
กิจสังคม สุรชัย พิริยะกิจไพบูลย์ (2) 8,529
กิจประชาคม เกรียงศักดิ์ เคราะห์ดี (30) 8,392
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมพงษ์ เศรษฐมาตย์ (17) 8,090
ประชาธิปัตย์ บุญทรัพย์ อักโข (15) 7,641
กิจสังคม นพรัตน์ สิงห์เรือง (3) 7,402
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เชาวน์พันธ์ เขียวสะอาด (18) 5,909
ชาติไทย อุดม พระเมเด (8) 4,849
ชาติไทย วีระชัย ธีรางศุ (9) 3,599
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมบูรณ์ บุญบุดตา (19) 2,359
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) โสรัจ นามอ่อน (27) 1,777
พลังใหม่ ทิวากร กันยามา (32) 1,429
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กลิ่น ปลั่งนิล (22) 1,213
ประชากรไทย เพ็ญนภา จันทรโคตร (6) 1,016
ประชากรไทย เทพพงษ์ ยุวพันธ์ (4) 995
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เขื่อง ทองทับ (20) 825
ประชากรไทย นิรันดร์ ศุภธีรารักษ์ (5) 797
พลังใหม่ ลิขิต กมุทมาศ (31) 673
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมภักดิ์ ทนทาน (24) 589
รวมไทย (พ.ศ. 2529) มานิต ครองยุติ (21) 565
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จ่าสิบเอก สุไร ไทยกมล (23) 550
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วิชัย มูลสาร (26) 424
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เพียร พุ่มจันทร์ (25) 335
รักไทย เบ็ญจรัตน์ ประสงค์สิน (36) 265
รักไทย นุกูล ก้อนแก้ว (34) 259
รักไทย แววมยุรา ก้อนแก้ว (35) 241
พลังใหม่ ตรรกพล อุ่นคำ (33) 233
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม สนิท จันทรวงศ์ (8) 63,366
กิจสังคม ธีระชัย ศิริขันธ์ (9) 56,417
กิจสังคม ธนา เมตตาริกานนท์ (7)* 53,859
ประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น (10)* 44,118
กิจประชาคม สุวัฒน์ ศิริอำนาจ (16)* 24,632
ประชาธิปัตย์ ทวี กาญจนพิมล (12) 20,747
ชาติไทย โกศล มารมย์ (1)✔ 17,205
ประชาธิปัตย์ สมบัติ วอทอง (11) 16,048
กิจประชาคม สวิง บุญเจิม (17) 13,095
กิจประชาคม สมพร บุตตะ (18) 6,905
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ทองมาก จันทะลือ (6)✔ 2,493
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประยูร หาญพงศ์พันธ์ (30) 1,925
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชนะ กุลวงศ์ (19) 1,349
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พันตำรวจตรี รณรงค์ สุหงษา (28) 1,179
ชาติไทย สุจินต์ สุพรรณ (2) 1,017
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันโท เพิ่มศักดิ์ ภาแก้ว (21) 967
ชาติไทย สุเมท สุพรรณ (3) 955
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พันจ่าเอก ชูศักดิ์ ทาระคำ (4)✔ 812
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) นุ่ม เย็นใจ (5) 857
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สายสิน ใจหาญ (20) 625
ประชากรไทย พร ศิริผล (13) 564
ประชากรไทย สนิท ชัยอมร (14) 453
ประชากรไทย มาโนช บุญจริง (15) 417
รักไทย สุวิทย์ มาหา (34) 375
สหประชาธิปไตย วีระ ไชยศรีสุข (31) 317
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) โกวิท โกศัลวิตร (27) 310
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พันจ่าอากาศเอก สมบัติ พินิจชัย (25) 277
ราษฎร (พ.ศ. 2529) กิตติศักดิ์ เงินทาบ (29) 257
รักไทย รักพงษ์ ณรงค์พันธ์ (36) 235
สหประชาธิปไตย ลักขณา ไกรศรีวรรธนะ (32) 170
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นารถ กีรติผจญ (26) 166
รวมไทย (พ.ศ. 2529) องอาจ สังข์ภักดี (24) 142
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาญ แสงทับทิม (22) 134
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สวาสดิ์ ขันธบุตร (23) 103
สหประชาธิปไตย ยุทธภัณฑ์ กลิ่นหอม (33) 91
รักไทย เกริกเกียรติ ศรีสวย (35) 67
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, กิ่งอำเภอตาลสุม และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (13)* 48,929
กิจสังคม ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ (14) 41,797
กิจประชาคม ดุสิต โสภิตชา (4)✔ 38,068
กิจประชาคม วัลลภ บุญพิพัฒน์ (5) 31,167
ชาติไทย เฉลิม สุขเสริม (17) 28,005
ประชาธิปัตย์ เกรียงศักดิ์ บัวพันธ์ (10) 26,828
ประชาธิปัตย์ สุรศักดิ์ บัวขาว (11) 18,815
ชาติไทย ณรงค์ จริยวิทยานันท์ (16) 17,510
กิจประชาคม มนัส สุขสาย (6) 16,998
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (25)* 14,250
ชาติไทย สุทวิช สุพรรณ (18)✔ 9,359
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สุนทร แก้วเนตร (2) 7,324
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชวนคิด ไขแสง (26) 7,033
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันเอก พิบูลย์ศักดิ์ นาคีรักษ์ (34) 6,109
ประชาธิปัตย์ ประสาท สายดวง (12) 4,503
กิจสังคม สิบตำรวจโท สมพงษ์ สวัสดิพงษ์ (15) 4,399
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประเสริฐ ก้องอุบล (19) 3,778
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กำชัย ภู่กำชัย (20) 3,403
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สถิตย์ สุยังกุล (1) 3,051
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไกรศักดิ์ ประเสริฐสุข (27) 1,688
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อนุชิต จันทรรุกขา (35) 1,607
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) กิตติพงษ์ กุมพล (3) 1,544
ประชากรไทย ศิลปชัย เทียมทัศน์ (7) 1,465
รวมไทย (พ.ศ. 2529) คำ เสนาพันธ์ (24) 1,269
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เจษฎา อมตะไพบูลย์ (21) 1,112
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมัย อนันตทัศน์ (36) 726
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สงัด บัวพา (30) 717
ประชากรไทย ธงชัย แพงศรี (8) 656
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ใหม่ เสน่หา (23) 626
พลังใหม่ สำเร็จ มธุรัญญานนท์ (37) 592
ประชากรไทย นิตย์ บุญจริง (9) 549
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กนกพรรณ ไม้เกตุ (29) 524
แรงงานประชาธิปไตย เทวินทร์ ทองเถาว์ (33) 487
รักไทย ฟ้าลิขิต เทอดวิทยาแสง (41) 411
รักไทย พงษ์พจน์ ประสงค์สิน (40) 384
พลังใหม่ คำดี พันธ์แก้ว (38) 371
แรงงานประชาธิปไตย วีระเชษฐ์ บุญสูง (32) 315
แรงงานประชาธิปไตย เชษฐไชย ศรีสุวรรณ (31) 298
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สัมฤทธิ์ มาสพันธ์ (28) 283
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เพ็ง วันศุกร์ (22) 245
รักไทย เกชา จันทรกาญจน์ (42) 179
พลังใหม่ สุรศักดิ์ พลศรี (39) 127
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจประชาคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530