ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน728,994
ผู้ใช้สิทธิ57.70%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พิชัย รัตตกุล
พรรค กิจสังคม ไม่สังกัดพรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 7 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น6 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์.jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
ผู้นำ พล เริงประเสริฐวิทย์ ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค สยามประชาธิปไตย ประชาราษฎร์ (พ.ศ. 2525) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง2

  Seventh party
 
ผู้นำ บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์
พรรค เสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1, 2 และ 3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอตาลสุม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สยามประชาธิปไตย พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (20) 44,715
กิจสังคม สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (1)✔ 30,247
ไม่สังกัดพรรค มนต์ชัย โควสุรัตน์ (14) 25,865 ' '
กิจสังคม ประสิทธิ์ ณรงค์เดช (3)* 22,874
ประชาธิปัตย์ ตรงจิตต์ พรรณดวงเนตร (8) 21,775
กิจสังคม บัญชา ตั้งวงษ์ไชย (2) 20,839
ประชาธิปัตย์ ประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ (7)✔ 19,466
ประชาธิปัตย์ เฉลิม สุขเสริม (9) 19,014
ไม่สังกัดพรรค สมพงษ์ โกศัลวิตร (15) 17,353
ไม่สังกัดพรรค นิคม สายสุวรรณ (6) 10,922
ไม่สังกัดพรรค ชำนาญ คานเขต (5) 10,275
ประชาเสรี ไทยคนึง คณานิจกิจไพบูลย์ (4) 7,525
ประชากรไทย ประสาท สายดวง (18) 6,002
ประชากรไทย เศรษฐพงษ์ วงษ์ศิลา (12) 5,314
ประชากรไทย จินดา กุลวณิชย์ (13) 4,759
ไม่สังกัดพรรค จ่าสิบเอก เบ็ญจ ปริกสุวรรณ (11) 4,472
ไม่สังกัดพรรค ประมวล ศิริภร (10) 4,036
ไม่สังกัดพรรค สงัด บัวพา (19) 1,906
ประชาเสรี จ่าสิบตำรวจ จรูญ เดชกล้า (21) 953
ไม่สังกัดพรรค ดำรง ดวงพิทักษ์พงศ์ (17) 715
ประชาเสรี จ่าสิบเอก สุไร ไทยกมล (22) 690
ไม่สังกัดพรรค เวทพูน คิมหะมานนท์ (16)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สยามประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก เสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาราษฎร์ (พ.ศ. 2525)
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เสรีธรรม (พ.ศ. 2522)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ผัน บุญชิต (9)* 42,327
กิจสังคม ตุ่น จินตะเวช (11) 31,567
กิจสังคม ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (16) 31,314
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์ (5)* 29,449
ประชาธิปัตย์ ยิ่ง สิทธิธรรม (4)✔ 27,263
ชาติไทย ปรีชา ภารการ (1) 22,960
สยามประชาธิปไตย เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (7)* 15,982
ประชาธิปัตย์ เกรียงศักดิ์ เคราะห์ดี (6) 13,976
ไม่สังกัดพรรค ประดิษฐ์ บุญอนันต์ (10) 13,745
สยามประชาธิปไตย บุญทรัพย์ อักโข (8) 11,777
ประชาเสรี เฉลิมศักดิ์ วรสุข (13) 9,677
ไม่สังกัดพรรค บรรพต วงษ์เที่ยง (2) 6,349
ประชาเสรี คำภู พุทธจักร (15) 4,072
ไม่สังกัดพรรค คำ บุญช่วย (3) 3,336
ไม่สังกัดพรรค ชื่น ราชจันทร์ (17) 2,914
ไม่สังกัดพรรค อุดม พระเมเด (16) 2,220
ประชาเสรี เพียร พุ่มจันทร์ (14)✔†
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอหัวตะพาน และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ธนา เมตตาริกานนท์ (1) 51,606
ประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น (11)✔ 43,940
กิจสังคม สุวัฒน์ ศิริอำนาจ (3) 37,824
ประชาธิปัตย์ สนิท จันทรวงศ์ (10) 34,101
กิจสังคม ธีระชัย ศิริขันธ์ (2) 27,793
ชาติไทย ประสิทธิ์ จันทวารา (8)* 22,144
ชาติไทย โกศล มารมย์ (7)✔ 21,134
สยามประชาธิปไตย พันตำรวจตรี ยุทธนา พรสวรรค์ (4)* 17,521
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) วารินทร์ ศรีแย้ม (12)* 15,202
ประชาเสรี สมพร บุตตะ (9) 8,787
สหชาติ พันโท เพิ่มศักดิ์ ภาแก้ว (14) 8,099
ไม่สังกัดพรรค ศรีรัตน์ พาวงษ์ (6) 6,226
ไม่สังกัดพรรค สง่า พาวงษ์ (5) 5,004
ประชาเสรี พันจ่าอากาศเอก สมบัติ พินิจชัย (16) 3,461
ไม่สังกัดพรรค วิศิษฐ์ พุทธานุ (17) 3,021
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สอน ผาธรรม (15) 1,757
ไม่สังกัดพรรค เอกวิทย์ วิทยา (13) 1,710
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอโพธิ์ไทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (11)✔ 35,519 ' '
กิจสังคม สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (3)✔ 27,639
กิจสังคม ดุสิต โสภิตชา (2)* 24,533
ชาติไทย พันเอก พิบูลย์ศักดิ์ นาคีรักษ์ (1) 14,405
ชาติไทย สุทวิช สุพรรณ (5)✔ 13,831
ประชากรไทย มัธยม เรืองแสน (4) 5,477
ประชาเสรี พันจ่าอากาศเอก วิชัย จันโทกุล (10) 5,389
ประชาธิปัตย์ เชิด สุวรรณกูฎ (7) 4,756
ไม่สังกัดพรรค ต่อนจันทร์ แก้วหิน (6) 3,985
ไม่สังกัดพรรค วิจิตร ช้างสาร (12) 3,876
ไม่สังกัดพรรค จเร ไขแสง (13) 3,718
ประชาเสรี นาวาอากาศเอก ชลิต มุสิกโชติ (9) 1,955
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พงษ์พจน์ ประสงค์สิน (15) 1,573
ไม่สังกัดพรรค ไชยพจน์ ภู่กำชัย (14)* 906
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สถิตย์ สุยังกุล (8) 617
ไม่สังกัดพรรค ร้อยตำรวจเอก ฤทธิ์รงค์ เพิ่มสิน (16) 263
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526