ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

← พ.ศ. 2512 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2519 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน624,976
ผู้ใช้สิทธิ54.15%
  First party Second party Third party
 
ทวิช กลิ่นประทุม.jpg
Somkid Srisangkom (cropped).png
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ ทวิช กลิ่นประทุม สมคิด ศรีสังคม หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ธรรมสังคม สังคมนิยมแห่งประเทศไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Prasit Kanchanawat.jpg
ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์.jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
ผู้นำ ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค สังคมชาตินิยม ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Seventh party Eighth party Ninth party
 
โกศล ไกรฤกษ์.jpg
Seni Pramoj in 1945.jpg
Aankomst minister president van Thailand Z. E. veldmaarschalk Thanom Kittikachor, Bestanddeelnr 921-2857 (cropped).jpg
ผู้นำ โกศล ไกรฤกษ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ถนอม กิตติขจร
พรรค อิสระ (พ.ศ. 2512) ประชาธิปัตย์ สหประชาไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สัญญา ธรรมศักดิ์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2518 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2512 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และอำเภอเขื่องใน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ (21) 23,230
สังคมชาตินิยม สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (6) 22,445
ธรรมสังคม ประทีป ทองคำใส (16)* 21,411
ชาติไทย เฉลิม สุขเสริม (12) 21,033
ธรรมสังคม ไพฑูรย์ โหตระไวศยะ (17) 19,484
สันติชน จุลพงษ์ ตลอดพงษ์ (23) 15,728
สันติชน ทองมาก จันทะลือ (22)* 14,804
แหลมทอง โกศล มารมย์ (9) 12,415
แรงงาน (ประเทศไทย) เสรี สุชาตะประคัลภ์ (3)* 10,928
ชาติไทย พลตรี จุมพล ทองทาบ (13) 10,734
ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2517) กลิ่น ปลั่งนิล (25)✔ 9,209
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) ทิม ภูริพัฒน์ (14)✔ 7,108
พลังใหม่ ณรงค์ พงษ์ภาพ (24) 6,540
ชาติไทย ยิ่ง สิทธิธรรม (27)* 6,398
สังคมชาตินิยม ฟอง การินทร์ (4) 5,977
พลังราษฎร คำภา จูมพระบุตร (2) 5,406
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมบูรณ์ บรรลุศิลป์ (11) 5,133
สังคมก้าวหน้า ประสาน คุ้มแถว (10) 4,635
ประชาธิปัตย์ นพภา วาจรัต (7) 4,051
ประชาธิปัตย์ นุ่ม เย็นใจ (8) 3,968
ธรรมสังคม พยอม หงษ์ภักดี (18) 3,146
พลังราษฎร ประยงค์ ศิริสาร (1) 2,699
ประชาธิปัตย์ โสฬส ม่วงทอง (19) 2,569
กิจสังคม เสน่ห์ จูมพระบุตร (20) 2,470
สังคมชาตินิยม นุกูล ก้อนแก้ว (5) 2,234
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) พันเอก สมบูรณ์ สุนทรเกส (15) 1,977
กิจสังคม ประมวล ศิริภูล (19) 1,921
สันติชน พันตำรวจตรี ช่วง สมทรัพย์ (26) 1,861
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) บุญถม แนวจำปา (31) 1,692
ราษฎร (พ.ศ. 2517) บุญเรือง ใจเพชร (30) 791
ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2517) ประดิษฐ์ บุญไทย (28) 420
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค
สังคมชาตินิยม ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค
ธรรมสังคม ได้ที่นั่งจาก สหประชาไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (4) 21,923
ธรรมสังคม เพียร พุ่มจันทร์ (10) 21,436
ธรรมสังคม สมาน งามสนิท (11) 19,104
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) โชติ สุวรรณา (8) 16,119
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (5) 15,315
เกษตรสังคม ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์ (16) 14,246
กิจสังคม ผล ไตรสาร (12) 14,232
ชาติไทย สายสิน ใจหาญ (18) 11,376
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) สำราญ พันธุ์เพ็ง (7) 10,895
ฟื้นฟูชาติไทย พีระ สมสอาด (1) 10,068
ชาติไทย เรืองเดช ศรีมุนี (19) 10,029
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) จำนง ลิ้มวงศ์ทอง (6) 9,543
ประชาธิปไตย (พ.ศ. 2517) พร บุตราช (9) 9,498
ประชาธิปัตย์ ไชยพจน์ ภู่กำชัย (15) 8,021
ฟื้นฟูชาติไทย ปรีชา ภารการ (2) 6,719
กิจสังคม ชาลี เบ้าเงิน (13) 4,875
แนวร่วมสังคมนิยม คอม สืบเหล่า (3) 4,579
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมุจย์ พันธ์คำ (22) 4,442
ฟื้นฟูชาติไทย สวัสดิ์ จันทรมณี (20) 4,018
กิจสังคม โสรัส นามอ่อน (14) 3,857
แรงงาน (ประเทศไทย) ทวี ลีลา (17) 2,551
แหลมทอง กอบกิจ พิกุลสวัสดิ์ (21) 2,482
ราษฎร (พ.ศ. 2517) กมล มุสิกสวัสดิ์ (27) 1,528
สังคมประชาธรรม สมบูรณ์ นามะฮง (23) 1,260
สังคมประชาธรรม ประสิทธิ์ บุญเฉลียว (24) 1,126
ราษฎร (พ.ศ. 2517) วรการ ไชยกาล (25) 1,090
เกษตรกร (พ.ศ. 2517) ผุย วงศ์พันธ์ (28) 914
พลังราษฎร บัณฑิต บุญเรือง (26) 438
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) ได้ที่นั่งจาก อิสระ (พ.ศ. 2512)
ธรรมสังคม ได้ที่นั่งจาก แนวประชาธิปไตย
ธรรมสังคม ได้ที่นั่งจาก แนวประชาธิปไตย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน และกิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สุทัศน์ เงินหมื่น (26) 34,704
ชาติไทย อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (4) 28,859
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย วิชัย เสวะมาตย์ (27)* 22,636
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (28)* 19,950
ชาติไทย ประสิทธิ์ จันทวารา (5) 19,374
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) ประสาน เรืองกาญจนเศรษฐ์ (8) 13,831
สังคมชาตินิยม มนต์ชัย โควสุรัตน์ (32) 11,617
ธรรมสังคม บุญสาร โยธามาตย์ (13) 10,925
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) จุลศักดิ์ ตั้งกิจศิริ (10) 10,004
ชาติไทย สง่า พาวงษ์ (6) 9,941
ธรรมสังคม วิศิษฎฺ์ บุญศิลป์ (12) 9,231
ราษฎร (พ.ศ. 2517) ยงยุทธ พึ่งภพ (21) 7,528
ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) ชูสิทธิ ศิระพงษ์ประภา (9) 7,029
ประชาธิปัตย์ สะอาด ประเปรียว (7) 6,467
พลังใหม่ นิยม มุทาวัน (2) 6,303
กิจสังคม ประสาร วงศ์ชาลี (17) 5,829
สันติชน ประมวล ผ่านสำแดง (25) 5,694
ฟื้นฟูชาติไทย วรศิลป์ เจียงคำ (24) 5,538
สังคมประชาธรรม สมฤทธิ์ นามชินมาร (34) 5,537
พลังใหม่ เจษฎา อมตะไพบูลย์ (3) 5,413
ธรรมสังคม จันทร์ อินสุเพท (11) 5,250
กิจสังคม สงัด บัวพา (18) 4,540
สังคมชาตินิยม ร้อยเอก สนาน มั่งมี (16) 4,001
ฟื้นฟูชาติไทย ประเสริฐ นันทบุตร (14) 3,692
กิจสังคม ประพันธ์ พิศชวนชม (19) 3,229
แนวร่วมสังคมนิยม เดือนชัย ทองผุด (20) 3,213
สังคมประชาธรรม สายศักดิ์ สิทธิธรรม (33) 3,013
สังคมชาตินิยม สถิตย์ สุยังกุล (15) 2,520
พลังใหม่ กิตติ นุตาลัย (1) 2,504
สันติชน ทินกร ชุติเนตร (23) 2,196
พลังราษฎร ทองสิงห์ ยืนยาว (30) 2,122
สันติชน พงษ์พจน์ ประสงค์สิน (22) 1,861
พลังราษฎร ทวีชัย สมปราชญ์ (31) 1,495
พลังราษฎร อุเทพ เทพสิทธา (29) 1,131
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ได้ที่นั่งจาก แนวประชาธิปไตย
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก แนวประชาธิปไตย
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 26 มกราคม 2518. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2518