ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน375,432
ผู้ใช้สิทธิ73.15%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ ชวลิต ยงใจยุทธ พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค สามัคคีธรรม ความหวังใหม่ ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party Fifth party
 
มานะ รัตนโกเศศ.jpg
Somboon rahong.jpg
ผู้นำ มานะ รัตนโกเศศ สมบุญ ระหงษ์
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 1 ที่นั่ง โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม และอำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลจุมพล ตำบลนาดี ตำบลทุ่งหลวง ตำบลวัดหลวง ตำบลเหล่าต่างคำ ตำบลหนองหลวง ตำบลชุมช้าง ตำบลนาหนัง ตำบลเซิม ตำบลกุดบง ตำบลเฝ้าไร่ ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลวังหลวง และตำบลอุดมพร)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ประสิทธิ์ จันทาทอง (12)* 63,610
ความหวังใหม่ ฉัตรชัย เอียสกุล (8)✔ 62,798
สามัคคีธรรม ทรงยศ รามสูต (11)* 51,120
สามัคคีธรรม นิตินัย นาครทรรพ (10)* 48,018
ความหวังใหม่ พิทักษ์ ศรีตะบุตร (7)✔ 43,661
กิจสังคม สุนทร นิลเกตุ (4)✔ 32,775
มวลชน พันตำรวจโท ทวีศักดิ์ ธุวานนท์ (1) 26,373
ความหวังใหม่ สมคิด บาลไธสง (9) 11,934
มวลชน เสถียร ผาณิบุศย์ (2) 7,459
มวลชน สมคิด ขันทอง (3) 4,960
เอกภาพ รุ่งอรุณ สุนทร (13) 3,792
เอกภาพ ดาบตำรวจ มีชัย ดาวแก้ว (14) 2,351
ชาติไทย บุญสงค์ อุตสาห์ (25) 1,916
เกษตรเสรี สิทธิ์ จันทาคีรี (21) 1,720
กิจสังคม เสถียร สมจันที (6) 1,369
เอกภาพ ธานี สองหลวง (15) 1,276
กิจสังคม ประสิทธิ์ นามบุบผา (5) 1,266
ชาติไทย กุล พิมดี (26) 971
เกษตรเสรี ทรัพย์ทวี คชวงศ์ (20) 903
ประชากรไทย พวน แสงฮาด (30) 774
เกษตรเสรี ล้วน คชวงศ์ (19) 713
ประชากรไทย มนตรี ฦาแรง (28) 636
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ฮอง นามแก้ว (17) 585
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อำพร เวียงคำ (18) 503
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ตุ๋ย สีลือ (24) 480
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บุญมี ศรีระโส (16) 446
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กมล ปิยะนุช (22) 406
ชาติไทย บุญทัน พุทธรักษา (27) 379
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุขเสริม ชัยสาลี (23) 227
ประชากรไทย พูนศักดิ์ สาธิราช (29) 176
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอปากคาด, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, อำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลพระบาทนาสิงห์ ตำบลรัตนวาปี ตำบลโพนแพง ตำบลนาทับไฮ และตำบลบ้านต้อน), กิ่งอำเภอบึงโขงหลง, กิ่งอำเภอศรีวิไล และกิ่งอำเภอบุ่งคล้า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม สุเมธ พรมพันห่าว (10)* 59,070
สามัคคีธรรม พินิจ จารุสมบัติ (11) 42,706
ความหวังใหม่ เฉลิมชัย เอียสกุล (16)✔ 42,251
สามัคคีธรรม ธรรมนูญ เจริญดี (12) 39,834
ความหวังใหม่ บุญนำ นิกรเทศ (17) 24,940
ชาติไทย ไชยวัฒน์ พรหมประสิทธิ์ (7)* 24,664
เอกภาพ คำแดง สุทธิสาร (1) 22,027
ชาติไทย ร้อยตรี สนั่น ธานีรัตน์ (8) 20,777
กิจสังคม พยัคฆ์ สิมมาโคตร (4) 14,370
ความหวังใหม่ จรูญ พันธุ์พรหม (18) 9,322
ประชากรไทย หนูศิลป์ นาเมืองรักษ์ (14) 7,860
ประชากรไทย พลศักดิ์ สุดสนธิ์ (13)✔ 6,148
ประชากรไทย สมโภชน์ ชนะหาญ (15) 4,648
ชาติไทย สมชัย พรมเสนา (9) 4,334
เอกภาพ วิโรจน์ กองแก้ว (2) 4,140
เอกภาพ แสงนภา ไกรโสม (3) 2,392
กิจสังคม ถนอม ศรีประสงค์ (6) 1,569
กิจสังคม พุ่ม วงษ์หาบุศย์ (5) 1,115
เกษตรเสรี ถวิล ผลจันทร์ (26) 1,087
เกษตรเสรี ธนชัย สาครวงศ์ (27) 676
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พงษ์อินทร์ ศรีระโส (19) 625
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ยิ้ม จันทาคีรี (21) 557
เกษตรเสรี ศรีสุเทพ ศรีโสดา (25) 399
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุรศักดิ์ ศรีระโส (20) 366
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทองวัน ชัยสาลี (22) 292
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ยุ่น พรหมโคตร (24) 283
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปราณี ชัยอามาตร (23) 198
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ความหวังใหม่ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535