ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน331,316
ผู้ใช้สิทธิ71.32%
  First party Second party Third party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ พิชัย รัตตกุล ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 3 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม, อำเภอโพนพิสัย และอำเภอปากคาด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ฉัตรชัย เอียสกุล (7) 77,226
ชาติไทย ทรงยศ รามสูต (2) 74,609
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุนทร นิลเกตุ (4) 45,903
ประชาธิปัตย์ พิชัย ยุวนิช (9) 44,442
ชาติไทย นิตินัย นาครทรรพ (1)* 44,367
ประชาธิปัตย์ พิทักษ์ ศรีตะบุตร (8)* 40,841
ชาติไทย มนตรี ฦาแรง (3) 16,037
ประชากรไทย สรรเสริญ โกวิทศิริกุล (14) 10,616
กิจประชาคม สหัส ประการโพธิ์ (11) 8,499
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รุ่งอรุณ สุนทร (17) 6,553
ประชากรไทย อุทิศ กลัดณรงค์ (13) 3,227
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เริง อุปวงศ์ (16) 1,980
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิน ระวะรักษ์ (18) 1,705
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เพลินจิต แก้วคำแจ้ง (6) 1,661
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สลัด สุวรรณรอด (24)✔ 1,218
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประสิทธิ์ นามบุบผา (5) 1,212
ประชากรไทย เที่ยง สุริยบุตร (15) 1,038
กิจประชาคม พันตำรวจโท ทอง อุทารจิตต์ (12) 1,001
กิจประชาคม กฤษดา กลางวิชัย (11) 912
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมพงษ์ ธงไชย (22) 870
แรงงานประชาธิปไตย เรณู จินางกูร (20) 809
แรงงานประชาธิปไตย กฤษณา เหล่าบง (19) 653
ราษฎร (พ.ศ. 2529) กรสัณห์ กันยะพงศ์ (23) 549
แรงงานประชาธิปไตย วิทยา แก้วศรีทอง (21) 361
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ และกิ่งอำเภอบึงโขงหลง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เฉลิมชัย เอียสกุล (1) 28,582
ชาติไทย ไชยวัฒน์ พรหมประสิทธิ์ (7)* 21,581
ชาติไทย สุเมธ พรมพันห่าว (8) 19,396
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ร้อยโท ประกิต บุตรเจริญ (21) 17,385
ประชาธิปัตย์ อนุวัฒน์ บัวพรหมมี (2)* 14,892
ประชากรไทย หนูศิลป์ นาเมืองรักษ์ (5) 13,999
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พลศักดิ์ สุดสนธิ์ (13)✔ 9,399
ประชากรไทย บุญช่วย น้ำคำเขียว (6) 7,434
พลังใหม่ พยัคฆ์ สินมาโคตร (18) 5,187
พลังใหม่ ปัญญา มีธรรม (17) 2,660
กิจประชาคม ประหยัด นาหอคำ (3) 2,505
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ร้อยตำรวจโท ศุภชัย เอมะรุจิ (22) 2,235
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วีระชัย ชาติเจริญ (15) 1,801
แรงงานประชาธิปไตย สุภาพร วงศ์คำตา (12) 1,744
รักไทย หนูไกร อินทรปพงศ์ (20) 1,650
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประเทือง พิสัยพันธ์ (16) 1,313
กิจประชาคม เสถียร ละม่อม (4) 1,131
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จันโท ลาภจิตร (14) 842
แรงงานประชาธิปไตย โสภณ ไตรภูมิ (11) 687
สหประชาธิปไตย เพชร เดชโฮม (9) 633
รักไทย สมชาย ระวิวรรณ (19) 450
สหประชาธิปไตย อารีย์ สงวนนาม (10) 370
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530