ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดหนองคายในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน332,950
ผู้ใช้สิทธิ81.37%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
อาทิตย์ อุไรรัตน์.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ อาทิตย์ อุไรรัตน์ ชวน หลีกภัย
พรรค ความหวังใหม่ เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 4
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง4

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ, อำเภอสังคม และอำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลจุมพล ตำบลนาดี ตำบลทุ่งหลวง ตำบลวัดหลวง ตำบลเหล่าต่างคำ ตำบลหนองหลวง ตำบลชุมช้าง ตำบลนาหนัง ตำบลเซิม ตำบลกุดบง ตำบลเฝ้าไร่ ตำบลบ้านโพธิ์ ตำบลวังหลวง และตำบลอุดมพร)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ พิทักษ์ ศรีตะบุตร (2)✔ 64,933
ประชาธิปัตย์ ทรงพล โกวิทศิริกุล (16) 62,032
ความหวังใหม่ ฉัตรชัย เอียสกุล (1)* 60,601
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ทรงยศ รามสูต (4)* 46,896
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ประสิทธิ์ จันทาทอง (5)* 44,791
ชาติไทย นิตินัย นาครทรรพ (19)✔ 34,904
ความหวังใหม่ สมคิด บาลไธสง (3) 16,392
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อุทัย ยอดประทุม (6) 8,336
ประชาธิปัตย์ ชัยยา ไพชยนต์ (17) 6,490
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ช้วน พลทรักษา (15) 3,634
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ฐิติกรณ์ เทศศรีเมือง (14) 3,491
ชาติไทย มนตรี ฦาแรง (20) 3,403
ประชาธิปัตย์ ไมตรีจิตต์ กลัดเพชร (18) 2,863
ชาติไทย อดิศร สุวรรณโคตร (21) 2,779
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) พวน แสงยาด (13) 2,725
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี เพ็ง ขวัญทองห้าว (9) 1,200
ประชากรไทย คนึงนิตย์ กลัดณรงค์ (8) 1,157
ประชากรไทย อุทิศ กลัดณรงค์ (7) 1,105
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ยิ้ม จันทาคีรี (12) 1,043
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุรศักดิ์ ศรีระโส (10) 490
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เสกสรร ไฉนงุ่น (11) 459
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบึงกาฬ, อำเภอเซกา, อำเภอปากคาด, อำเภอโซ่พิสัย, อำเภอพรเจริญ, อำเภอโพนพิสัย (เฉพาะตำบลพระบาทนาสิงห์ ตำบลรัตนวาปี ตำบลโพนแพง ตำบลนาทับไฮ และตำบลบ้านต้อน), กิ่งอำเภอบึงโขงหลง, กิ่งอำเภอศรีวิไล และกิ่งอำเภอบุ่งคล้า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สุเมธ พรมพันห่าว (10)* 72,538
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) พินิจ จารุสมบัติ (11)* 54,398
ความหวังใหม่ เฉลิมชัย เอียสกุล (7)* 49,916
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ธรรมนูญ เจริญดี (4) 49,311
ชาติไทย ไชยวัฒน์ พรหมประสิทธิ์ (1)✔ 37,871
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บุญนำ นิกรเทศ (5) 27,913
ชาติไทย หนูศิลป์ นาเมืองรักษ์ (2) 7,924
ความหวังใหม่ บุญสงค์ อุตสาห์ (8) 7,031
ความหวังใหม่ ณรงค์ศักดิ์ ศรีสุจันทร์ (9) 3,124
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ธิติ มหาศิริพันธ์ (12) 2,122
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จันทะเนือง พันลำ (6) 1,847
ชาติไทย ลาภวัต เมธาธิคุณ (3) 1,824
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จริยา ไฉนงุ่น (15) 1,093
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บุญมี ศรีระโส (14) 1,001
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พงษ์อินทร์ ศรีระโส (13) 487
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536