ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน529,048
ผู้ใช้สิทธิ65.76%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Narong Wongwan.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา ณรงค์ วงศ์วรรณ เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค กิจสังคม รวมไทย (พ.ศ. 2529) ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 4 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1 Steady0

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
ณรงค์กิตติขจร.jpg
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ ณรงค์ กิตติขจร พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ชาติไทย เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สุธี ภูวพันธุ์ (30)✔ 74,572
กิจสังคม พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร (7)* 59,680
กิจสังคม อุทัย ศรีสงค์ (8) 36,161
ประชาธิปัตย์ สุวัฒน์ สุรินทรานนท์ (1) 32,703
สหประชาธิปไตย วิชัย จันทร์เจริญ (13)* 25,439
มวลชน สมัย ยอดพรหม (19) 21,595
พลังธรรม บันเทิง สายยศ (31) 14,046
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วาสนา ภูวพันธุ์ (29) 13,654
กิจสังคม ประกุล แย้มนาม (9) 13,034
มวลชน เชิญ สามารถ (20) 7,897
กิจประชาคม สิทธิกรณ์ พวงประโคน (25) 6,991
พลังธรรม บุญเรือง คัชมาย์ (32) 6,841
ชาติไทย สุทธิพงษ์ อยู่สบาย (17) 6,828
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาญณรงค์ หวังดี (28) 6,451
พลังธรรม วินิตา จรัณยานนท์ (33) 5,323
ประชาชน (พ.ศ. 2531) มงคล บานเย็น (10) 3,776
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เบญจพล ม่วงศรี (24) 3,096
มวลชน ประดับ สืบสันต์ (21) 3,010
ชาติไทย ศิริพงษ์ ไหวดี (18) 2,959
สหประชาธิปไตย เมธี เพิ่มเพียร (14) 2,903
ประชาธิปัตย์ ชูวิทย์ หวลระลึก (2) 2,654
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ อยู่ยืน (3) 2,055
สหประชาธิปไตย ศักดิ์ชัย ศรดอก (15) 1,849
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิรัช จันทร์ศรี (6) 1,801
ประชาชน (พ.ศ. 2531) กัน ยอดชลูด (12) 1,705
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พินันท์ สุจินพรหม (11) 1,541
ราษฎร (พ.ศ. 2529) โอภาส ดุจเพ็ญ (4) 1,176
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นวล จารัตน์ (23) 1,115
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พิมลวรรณ ดุจเพ็ญ (5) 1,074
กิจประชาคม ประสิทธิ์ สุขสมกร (27) 864
พลังสังคมประชาธิปไตย พิทักษ์ พรหมราตรี (37) 724
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สุดใจ น่วมจะโป๊ะ (35) 708
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ปิยะวิทย์ ถนอมนาม (34) 684
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ประนอม เฉลียวศิลป์ (36) 589
พลังสังคมประชาธิปไตย ธวัชชัย อารีย์ป้อม (39) 564
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยตำราจตรี บัว พินิจพงษ์ (22) 562
พลังสังคมประชาธิปไตย ทองสุข ราชบุรี (38) 450
กิจประชาคม สุวรรณ สุขสมภพ (26) 386
ชาติไทย บุญติด สุรประพจน์ (16)✔
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เสกสรร แสนภูมิ (13)* 68,430
กิจสังคม ยรรยง ร่วมพัฒนา (20)* 56,065
ชาติไทย บุญเกิด นากดี (10)* 45,163
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สนั่น สิงหเสนา (31) 30,410
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชวลิต ยืนยาว (14) 28,423
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประเสริฐ ผงกุลา (15) 17,201
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ร้อยเอก บุญเสริม ไชยพรรณา (30) 7,383
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ทองหล่อ นิ่งประโทก (22) 6,731
ประชาธิปัตย์ ธีรกุล หาญบาง (1) 6,288
ชาติไทย ไมตรี จินดาศรี (12) 3,501
สหประชาธิปไตย สุนทร แวงวาสิต (4) 3,500
ประชาธิปัตย์ สุภชัย แสนเสริม (3) 3,189
ชาติไทย ประกอบ เทอดสุวรรณ (11) 3,177
กิจสังคม สมบูรณ์ ร่วมศรี (21) 2,318
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประกอบ จินดาศรี (27) 2,245
ประชาชน (พ.ศ. 2531) บัณฑิตย์ จันทร์งาม (24) 2,036
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไพฑูรย์ หมายมั่น (25) 1,932
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สมเกียรติ มะโนบาล (23) 1,861
ประชาธิปัตย์ สุริพงษ์ แข่งขัน (2) 1,742
ประชากรไทย หัตถกร แก้วพฤกษ์ (16) 1,659
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมชัย ประชา (32) 896
ประชากรไทย บัณฑิต ศรีเทพ (17) 851
กิจสังคม แก้ว ดอกยี่สุ่น (19) 764
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประสิทธิ์ ทวีศรี (29) 747
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สวัสดิ์ แก้วตา (33) 747
ประชากรไทย สมาน แสวงทรัพย์ (18) 741
กิจประชาคม ปริญญา นามลี (7) 733
พลังสังคมประชาธิปไตย ชัย บรรลุสุข (42) 731
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชม นาจำปา (26) 678
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญมี ไทยแท้ (28) 593
พลังสังคมประชาธิปไตย นราธิป อนันตสุข (40) 581
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วิสุทธิ์ สุขประเสริฐ (37) 471
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ดารา แสงแก้ว (38) 459
มวลชน วิโรจน์ จรดรัมย์ (34) 441
กิจประชาคม วีระธรรม กมุททรง (9) 406
พลังสังคมประชาธิปไตย ชิงชัย ว่องไว (41) 386
สหประชาธิปไตย บุญรัตน์ กำจร (5) 381
กิจประชาคม ชาตรี ศิริวิทยารักษ์ (8) 367
มวลชน พิริยะ มีพร้อม (35) 270
สหประชาธิปไตย สงวน แก้วตอ (6) 260
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เริ่ม สานุสันต์ (39) 198
มวลชน ตุลา วิเศษชาติ (36) 138
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ และอำเภอบัวเชด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมบัติ ศรีสุรินทร์ (9)* 48,304
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เกียรติ ศรีสุรินทร์ (16) 44,286
กิจสังคม กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (12)* 39,613
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) แก่นสาร พยอมหอม (8) 8,392
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สวิน นิลเพชร (5) 4,100
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อมร ขันทอง (7) 3,662
มวลชน ปราโมทย์ มรกต (2) 2,947
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุรินทร์ จันทร์แจ่ม (6) 2,284
พลังสังคมประชาธิปไตย เชื้อ สันตวง (20) 2,045
มวลชน สันติชัย แสงอรุณ (1) 1,706
สหประชาธิปไตย วิศิษฐ์ พิพัฒนฑรคานนท์ (4)✔ 1,661
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พิเชฐ บุตรงาม (14) 1,054
พลังสังคมประชาธิปไตย คมสันต์ บุญทอง (19) 1,042
รวมไทย (พ.ศ. 2529) นพมาศ ณรงค์ฤทธิ์ (10) 1,040
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วรการ เลิศล้ำ (15) 1,029
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เขต บุญธรรม (17) 924
กิจสังคม ภิญโญ อรุณชัยภิรมย์ (11) 758
เกษตรอุตสาหกรรมไทย จิตรกร ท่อนแก้ว (18) 651
ประชาชน (พ.ศ. 2531) หาญทอง ยอดชลูด (13) 494
สหประชาธิปไตย อภินันท์ นิลแก้ว (3) 373
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532