ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน566,141
ผู้ใช้สิทธิ64.81%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา ชาติชาย ชุณหะวัณ บุญเท่ง ทองสวัสดิ์
พรรค กิจสังคม ชาติไทย สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 4 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Uthai Pimchaichon 2004 (cropped).jpg
Narong Wongwan.jpg
Somkid Srisangkom (cropped).png
ผู้นำ อุทัย พิมพ์ใจชน ณรงค์ วงศ์วรรณ สมคิด ศรีสังคม
พรรค ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รวมไทย (พ.ศ. 2529) สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สหประชาธิปไตย วิชัย จันทร์เจริญ (10) 57,049
กิจสังคม พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร (13)* 54,787
กิจสังคม เกษม รุ่งธนเกียรติ (14) 53,568
ชาติไทย บุญติด สุรประพจน์ (16)* 46,964
ประชาธิปัตย์ สุธี ภูวพันธุ์ (19)* 46,749
กิจสังคม สุวัฒน์ สุรินทรานนท์ (15) 29,155
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ทัศนีย์ เธียรประมุข (2) 17,977
สหประชาธิปไตย สมัย ยอดพรหม (12) 12,595
ประชาธิปัตย์ ธีรกุล หาญบาง (20) 11,850
ชาติไทย บันเทิง สายยศ (17) 10,396
ประชาธิปัตย์ ชุมพล สุรินทราบูรณ์ (21) 8,813
สหประชาธิปไตย ธีรพงศ์ โสวภาค (11) 8,071
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ญาติ ไหวดี (1)✔ 4,917
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พันตรี อัมพร มาลีหวล (9) 3,148
ชาติไทย สิบตรี วิชัย ปรีชาธรรม (18) 3,037
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ศิริ ผาสุก (7)✔ 2,964
กิจประชาคม เหลื่อม พันธ์ฤกษ์ (4)✔ 2,652
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ธงชัย เจริญศิริ (3) 2,454
มวลชน เบญจา วอหล้า (23) 1,381
กิจประชาคม ประเสริฐ พิศวงศ์เทวัญ (6) 1,365
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ร้อยตรี ประยูร เจริญผล (8) 1,358
มวลชน บุญเรือน ศรีอนันต์ (24) 1,238
กิจประชาคม จรัส หนูพันธ์ (5) 1,176
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เสมือน เรืองจิต (25) 1,035
แรงงานประชาธิปไตย วีระ ชัยนนท์ (29) 932
มวลชน ลักก์ชัย สุวิมลพันธุ์ (22) 733
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมรบ เรืองทอง (26) 675
แรงงานประชาธิปไตย บัญชา รัตนปรีดาพันธุ์ (30) 526
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ลอย กงทอง (27) 328
แรงงานประชาธิปไตย เฉลิมพล ไมยรัตน์ (28) 270
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เสกสรร แสนภูมิ (13) 72,315
ชาติไทย บุญเกิด นากดี (4)✔ 46,190
กิจสังคม ยรรยง ร่วมพัฒนา (2) 44,056
กิจสังคม สามารถ เจริญรัตน์ (1)* 43,119
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อร่าม อามระดิษ (10)✔ 39,912
สหประชาธิปไตย สมถวิล วชิรรัตนปรัชญ์ (22)* 22,031
กิจประชาคม นครชัย ศิริวิทยารักษ์ (7) 10,111
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชวลิต ยืนยาว (14) 8,999
กิจประชาคม สาย บุญสรรค์ (8) 8,282
กิจสังคม เสาร์ วงศ์ฉลาด (3) 7,780
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ทองอินทร์ อ่อนหัวโทน (15) 4,542
สหประชาธิปไตย เฉลิมเกียรติ ศรีโกตะเพชร (23) 3,916
รวมไทย (พ.ศ. 2529) วิทยา ยอดพงษ์พิพัฒน์ (12) 2,851
ประชากรไทย หัตถกร แก้วพฤกษ์ (25) 2,302
สหประชาธิปไตย เฉลิมขวัญ วชิรรัตนปรัชญ์ (24) 1,964
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จีรพงศ์ วัฒนะรัตน์ (11) 1,755
กิจประชาคม มงคล บานเย็น (9) 1,477
ชาติไทย ไมตรี จินดาศรี (5) 1,219
ประชากรไทย ปราณี พวงมาลัย (26) 983
ประชากรไทย เริ่ม สานุสันต์ (27) 959
มวลชน ชะไมพร ศรีเวียง (17) 956
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นิยม บุญเลื่อน (21) 784
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อรอุมา ชาญศรี (20) 714
ชาติไทย ประกอบ เทอดสุวรรณ (6) 688
แรงงานประชาธิปไตย ประเสริฐ จันดำ (30) 614
แรงงานประชาธิปไตย แจ่มจันทร์ ชัยพร (28) 421
มวลชน เชิด โกร้กระโทก (16) 301
มวลชน ตุลา วิเศษชาติ (18) 275
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปั่น ชูผล (19) 263
แรงงานประชาธิปไตย ประเสริฐ บุญสิทธิ์ (29) 102
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ และอำเภอบัวเชด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (7)* 38,887
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมบัติ ศรีสุรินทร์ (1)* 36,908
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เกียรติ ศรีสุรินทร์ (17) 30,868
กิจสังคม ดนัย ประธาน (8) 21,123
ชาติไทย กอบชัย สืบนุการณ์ (9) 9,790
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิศิษฐ์ พิพัฒนฑรคานนท์ (3)✔ 6,883
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สว่าง หาญบาง (5) 5,940
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สวิน นิลเพชร (6) 3,401
สหประชาธิปไตย ปราโมทย์ มรกต (12) 2,262
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สมพร สุขอุ้ม (2) 2,086
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อมร ขันทอง (18) 1,668
ชาติไทย สันติชัย แสงอรุณ (10) 799
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อดิศักดิ์ ภูมิวัฒฑรคานนท์ (4) 778
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุบิน เครือเนียม (16) 555
สหประชาธิปไตย สุเมตต์ จึงมั่นคง (11) 482
มวลชน เฉลิม นึกรัมย์ (13) 357
มวลชน นพคุณ ปิดรัมย์ (14) 357
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พิชิต สุทธิยานุช (15) 277
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530