ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสกลนครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสกลนครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน499,115
ผู้ใช้สิทธิ69.22%
  First party Second party Third party
 
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Narong Wongwan.jpg
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ณรงค์ วงศ์วรรณ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ประชาธิปัตย์ สามัคคีธรรม เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 0 พรรคใหม่ 2
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Somboon rahong.jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ สมบุญ ระหงษ์ มนตรี พงษ์พานิช
พรรค ความหวังใหม่ ชาติไทย กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง2 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสกลนคร, อำเภอกุสุมาลย์, อำเภอพรรณานิคม, อำเภอพังโคน, อำเภอกุดบาก, อำเภอเต่างอย, กิ่งอำเภอโคกศรีสุพรรณ และกิ่งอำเภอโพนนาแก้ว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสกลนคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เอกภาพ เอกพร รักความสุข (20)* 85,216
ความหวังใหม่ เฉลิมชัย อุฬารกุล (5) 60,973
ประชาธิปัตย์ อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย (15) 45,057
ความหวังใหม่ มาลีรัตน์ แก้วก่า (4) 40,315
ชาติไทย เสน่ห์ โสรินทร์ (1)* 32,510
ชาติไทย ชาญชัย พรหมสาขา ณ สกลนคร (2)* 30,728
กิจสังคม ประทีป นามประกาย (22)✔ 28,539
เอกภาพ ปริยัติ วงศ์ธิเบศร์ (21) 19,624
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี ชาติชาย อุปพงศ์ (14) 18,596
เอกภาพ ปิยาวัลล์ เครือปัญญา (19) 18,508
มวลชน ทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย (10)✔ 14,799
สามัคคีธรรม จุมพฏ บุญใหญ่ (16) 6,974
ประชากรไทย สุรวิทย์ ฝึกฝน (7) 6,408
มวลชน รังสฤษฎ์ พูลเพิ่ม (12) 3,599
ชาติไทย พูลสวัสดิ์ คำทะเนตร (3) 2,492
ความหวังใหม่ วิเชียร พรหมสาขา ณ สกลนคร (6) 2,310
ประชากรไทย ปัญญา คันธพฤกษ์ (8) 1,915
สามัคคีธรรม นิยม มุลเมืองแสน (17) 1,856
สามัคคีธรรม อุ่น อินธิกาย (18) 1,669
ประชากรไทย ทวีศักดิ์ ถีระวงษ์ (9) 1,600
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิชิต ดารมย์ (27) 1,467
ประชาธิปัตย์ เพียงใจ บวรศักดิ์ (13) 1,181
มวลชน สด แง่พรหม (11) 1,074
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมใจ นันตะสุข (25) 685
กิจสังคม ชัยยันต์ หัตถสาร (24) 588
กิจสังคม สำรอง นาขะมิ้น (23) 508
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พิทักษ์ อุปพงษ์ (26) 339
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
เอกภาพ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสว่างแดนดิน, อำเภอวานรนิวาส, อำเภอบ้านม่วง, อำเภอวาริชภูมิ, อำเภออากาศอำนวย, อำเภอส่องดาว, อำเภอคำตากล้า, กิ่งอำเภอนิคมน้ำอูน และกิ่งอำเภอเจริญศิลป์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสกลนคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม สาคร พรหมภักดี (24) 65,325
สามัคคีธรรม สิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ (23)* 46,839
ประชาธิปัตย์ องุ่น สุทธิวงศ์ (1)✔ 44,428
สามัคคีธรรม พันตรี สีห์พนม วิชิตวรสาร (22)* 41,542
ชาติไทย วิรัตน์ ตยางคนนท์ (12)✔ 40,815
ชาติไทย จีรมิตร อุดมธรรมภักดี (10)✔ 36,275
ชาติไทย สุวิชัย อุดมธรรมภักดี (11)* 26,979
กิจสังคม ไพบูลย์ นามประกาย (13) 23,277
ความหวังใหม่ อำพล สุวรรณบล (20) 20,935
รวมพลังใหม่ โกวิทย์ สุวรรณเทน (5) 15,579
พลังธรรม สกล กองทรัพย์ (30) 14,000
ความหวังใหม่ ฐาปน์ ศิริขันธ์ (19) 11,597
พลังธรรม พงษ์ศักดิ์ เนื่องจำนงค์ (29) 9,287
พลังธรรม อัมรินทร์ จักษุจินดา (28) 8,541
รวมพลังใหม่ วรพจน์ วงศ์สง่า (4)✔ 8,185
ความหวังใหม่ จิตรอารีย์ อัญฤาชัย (21) 7,696
มวลชน ดิเรก อัคราช (16)✔ 7,212
กิจสังคม สุทัศน์ แดงลีทา (14) 5,816
เกษตรเสรี เด่นชัย พิมพิสาร (25) 3,384
ประชากรไทย ธงชัย พรหมทา (7) 3,282
มวลชน กัลยา หมูแสนกอ (17) 2,799
ประชาธิปัตย์ สิงห์ทอง โสมชัย (2) 2,145
เกษตรเสรี บุญหลาย สอดส่อง (27) 1,922
ประชาธิปัตย์ นุชิต จันตะแสง (3) 1,402
กิจสังคม วีระศักดิ์ ภูละคร (15) 1,293
มวลชน ราชันย์ คำภูแสน (18) 1,274
รวมพลังใหม่ วิบูลย์ศักดิ์ แสนอุบล (6) 1,108
เกษตรเสรี ประยูร ศรีอาจ (26) 1,043
ประชากรไทย อำนาจ วงศ์บาตร (9) 1,040
ประชากรไทย สิทธิพงษ์ เนื่องชมภู (8) 827
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535