ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน588,544
ผู้ใช้สิทธิ63.23%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ พิชัย รัตตกุล ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 5
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น2 ลดลง4

  Fourth party Fifth party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา บุญเท่ง ทองสวัสดิ์
พรรค กิจสังคม สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอโนนคูณ และกิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิชิต แสงทอง (1) 95,959
ชาติไทย ไพโรจน์ เครือรัตน์ (4)* 72,773
กิจสังคม กรองกาญจน์ วีสมหมาย (7)* 53,943
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มหาหิงค์ ไพรสิน (28) 52,229
กิจสังคม ธีระชัย วีสมหมาย (8)* 26,757
ประชาธิปัตย์ ธง ภาคแก้ว (2) 8,745
มวลชน วีระวัฒน์ สถิตย์พูนพันธ์ (18) 7,013
ประชาธิปัตย์ ปราศรัย พรหมทา (3) 6,314
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) มานิตย์ พรหมมานนท์ (13)✔ 4,809
ชาติไทย ประยงค์ พรหมประดิษฐ์ (5) 4,758
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เรือง ฤทธิ์พรม (11) 4,250
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วีระชัย จิรานันท์สิริ (12) 3,929
แรงงานประชาธิปไตย แก้ว สีหบัณฑ์ (21) 2,555
ประชากรไทย สิริ มะลิ (36) 2,447
ประชากรไทย บุญชู มีศรี (34) 2,406
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุพรรณ สาคร (10) 2,382
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศักดิ์ชัย ศิษย์ประเสริฐ (29) 2,378
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จ่าสิบเอก มานิตย์ โวสุนทรยุทธ (30) 1,478
กิจสังคม สหชัย บุญลพ (9) 1,418
สหประชาธิปไตย พงษ์เกียรติ อุดมอานุภาพสูล (27) 1,393
ชาติไทย สมศักดิ์ ลาลุน (6) 1,261
แรงงานประชาธิปไตย สุพล เพชรินทร์ (20) 981
ประชากรไทย ทองใส ตามบุญ (35) 979
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ประยูร ไชยเสนา (15) 842
มวลชน วรนุช เจนศิริศักดิ์ (17) 790
แรงงานประชาธิปไตย วิเศษศักดิ์สิทธิ์ คันศร (19) 752
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เศรษฐพงษ์ วงษ์ศิลา (31) 730
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สำราญ อินทรวงษ์โชติ (24) 704
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สุรศักดิ์ บัวแย้ม (14) 698
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นิคม รันทม (33) 664
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สวัสดิ์ มะโรณีย์ (23) 412
สหประชาธิปไตย นิสิต จำปาวัลย์ (25) 366
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ทรวง คำเหลือ (22) 310
สหประชาธิปไตย สมนาม บุณยสุรักษ์ (26) 308
มวลชน สมเกียรติ สุขเกิน (16) 299
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุรศักดิ์ ไชยคำ (32) 217
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอไพรบึง, อำเภอห้วยทับทัน และกิ่งอำเภอบึงบูรพ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (4)* 73,923
สหประชาธิปไตย เริ่มรัฐ จิตรภักดี (22)* 51,423
ประชาธิปัตย์ สวัสดิ์ สืบสายพรหม (10) 48,645
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ (5) 44,083
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สนิท ลีลา (6)✔ 38,484
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เทิดภูมิ ใจดี (13) 26,922
ประชาธิปัตย์ ไสว สดใส (11) 25,692
ชาติไทย เสนีย์ ช่างเพ็ชร (1) 5,848
ประชาธิปัตย์ อุปถัมป์ ดิษฐประสพ (12) 5,668
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ภราดร ศรปัญญา (7) 4,972
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) โกวิท ศรีสลับ (9) 3,600
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สหัสนัยน์ กฤษณสุวรรณ (8) 2,812
สหประชาธิปไตย สิทธิชัย จำตระกูล (23) 2,399
ชาติไทย สมจิตต์ แสนใหม่ (3) 2,297
สหประชาธิปไตย เฉลิมพล บุญเย็น (24) 2,187
ชาติไทย สำราญ สุหร่าย (2) 2,108
แรงงานประชาธิปไตย ปรีชา อสิพงษ์ (21) 2,089
แรงงานประชาธิปไตย เสือ ดาวแดง (20) 1,932
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จุนเจือ โปร่งจิตต์ (14) 1,425
รักไทย ขจิตหาญ ใยขันธ์ (26) 763
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุดม นาสารีย์ (15) 739
มวลชน สุวิทย์ อดุลย์สุข (16) 620
รักไทย นาวาตรี พันธุ์ อินทเสน (25) 574
มวลชน สุนทร สุขัง (17) 517
มวลชน สมรักษ์ ศรศิลป์ (18) 393
แรงงานประชาธิปไตย พันธ์ ทวีพรม (19) 388
รักไทย เสน วงศ์เพ็ญ (27) 372
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ และกิ่งอำเภอศรีรัตนะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สง่า วัชราภรณ์ (7)* 32,875
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จำนงค์ โพธิสาโร (8) 26,153
กิจสังคม ธีระพันธ์ วีสมหมาย (10) 24,409
กิจสังคม วีระ ไชยะเดชะ (9) 24,278
ประชาธิปัตย์ สุนทร เสนะเกตุ (11) 11,835
ชาติไทย เลี่ยม โพธิ์คำ (3) 9,311
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทวี หงส์ศิริพงษ์ (2) 6,015
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ ไทยสะเทือน (12) 5,406
ราษฎร (พ.ศ. 2529) นิสิต เวทย์ศิริยานันท์ (1)✔ 4,645
ชาติไทย ไพฑูรย์ ทองเลื่อน (4) 2,669
ประชากรไทย สุข ชูกำแพง (19) 1,803
ประชากรไทย สุบรรณ เจริญศรีเมือง (20) 1,562
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไชยยงค์ เวชกามา (6) 1,127
สหประชาธิปไตย ประจักษ์ โพธิสาร (17) 912
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เรียน เวชกามา (5) 926
มวลชน ศันสนีย์ พิภักดิ์ (13) 528
สหประชาธิปไตย สนธิ ฉัตรทอง (18) 433
มวลชน ศราวุธ โรจนาวรรณ (14) 274
แรงงานประชาธิปไตย สันติ คันศร (16) 204
แรงงานประชาธิปไตย สุวิช วิริยะวิวัฒน์ (15) 182
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530