ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน701,675
ผู้ใช้สิทธิ64.49%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Montri Phongphanit.jpg
Chamlong Srimuang 2008 (cropped).jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ มนตรี พงษ์พานิช จำลอง ศรีเมือง
พรรค ความหวังใหม่ กิจสังคม พลังธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 4 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 ลดลง1 เพิ่มขึ้น2

  Fourth party Fifth party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ชาติไทย สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ, อำเภอกันทรารมย์, อำเภอราษีไศล, อำเภอยางชุมน้อย, กิ่งอำเภอน้ำเกลี้ยง และกิ่งอำเภอวังหิน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังธรรม มานะ มหาสุวีระชัย (10) 73,304
พลังธรรม ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง (11) 67,447
ความหวังใหม่ บุญชง วีสมหมาย (7)* 57,309
พลังธรรม ประดิษฐ์ ศิลาบุตร (12) 47,880
ชาติไทย ไพโรจน์ เครือรัตน์ (16)* 47,299
ความหวังใหม่ กรองกาญจน์ วีสมหมาย (8)* 41,263
ความหวังใหม่ เทอดสิทธิ์ อุตส่าห์ (9) 27,481
ประชาธิปัตย์ สมคิด สุริยเลิศ (1) 18,099
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) มหาหิงค์ ไพรสิน (4)✔ 14,288
ประชาธิปัตย์ ประพันธ์ ดอกไม้ (2) 8,245
ประชาธิปัตย์ สมนึก บุญปัญญา (3) 6,217
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ประดิษฐ์ สุวรรณ์ (6) 3,514
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ทวี สุวรรณพัฒน์ (13) 2,739
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ทอง พิมพ์สมาน (5) 1,850
ชาติไทย เทวฤทธิ์ เลื่อนฤทธิ์ (17) 1,697
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) กิติภัทร์ อนันต์เมธากุล (14) 1,355
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) เฉลิม นพไทย (15) 1,263
ชาติไทย สมศักดิ์ ลาลุน (18) 1,055
มวลชน วิภาภรณ์ สกุลสุจริต (21) 524
มวลชน คำกอง ศรีพล (19) 516
มวลชน มนตรี ศรีผุย (20) 437
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ลำใย คงคำ (24) 435
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จันสาย แก้วดี (23) 330
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พวน แก้วดี (22) 298
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
พลังธรรม ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอขุขันธ์, อำเภออุทุมพรพิสัย, อำเภอปรางค์กู่, อำเภอห้วยทับทัน, กิ่งอำเภอบึงบูรพ์, กิ่งอำเภอภูสิงห์ และกิ่งอำเภอเมืองจันทร์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ สวัสดิ์ สืบสายพรหม (4)* 74,759
ความหวังใหม่ เทิดภูมิ ใจดี (5)* 68,344
กิจสังคม ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ (1)* 58,296
ความหวังใหม่ มานพ จรัสดำรงนิตย์ (6) 58,296
กิจสังคม เริ่มรัฐ จิตรภักดี (2)✔ 37,275
พลังธรรม วัชรินทร์ สอนพูด (10) 21,956
พลังธรรม ไสว สดใส (12) 17,844
พลังธรรม ภราดร ศรปัญญา (11) 11,115
กิจสังคม นิรันดร์ บุญสอน (3) 10,907
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ปริญญา บุญข่าย (7) 4,771
ประชาธิปัตย์ โกวิท ศรีสลับ (16) 4,304
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สมศักดิ์ ศรีภักดิ์ (9) 3,344
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) คมกริช สุระมิตร (8) 2,989
ประชาธิปัตย์ สมภพ ลุทนต์ (18) 2,370
ประชาธิปัตย์ ประกอบ สุพัฒน์ (17) 1,250
ประชากรไทย เนรมิต นนท์ตา (20) 874
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมพงษ์ ศักดิ์ศรี (13) 839
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สม ดกกลาง (15) 681
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทองแดง ดกกลาง (14) 586
ประชากรไทย วาสนา แดงงาม (19) 572
ประชากรไทย เพิ่มพูน ใยขันธ์ (21) 428
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอกันทรลักษ์, อำเภอขุนหาญ, อำเภอไพรบึง, อำเภอโนนคูณ และอำเภอศรีรัตนะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ (7) 52,224
ชาติไทย จำนงค์ โพธิสาโร (10)* 49,511
กิจสังคม ดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ (2)* 49,396
กิจสังคม สง่า วัชราภรณ์ (1)* 41,720
ชาติไทย วีระ ไชยะเดชะ (11)✔ 35,190
พลังธรรม บัญชร แก้วส่อง (13) 26,102
ชาติไทย จาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์ (12) 19,069
กิจสังคม ไมตรี วงศ์นิล (3) 17,869
พลังธรรม ณัฐศักดิ์ เบญจบัณฑิต (14) 15,198
พลังธรรม ชำนาญ แก้วคะตา (15) 12,380
ความหวังใหม่ โกสิต ศรแก้ว (8) 8,947
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ไพบูลย์ นาคสีหราช (4) 8,178
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ยุทธิพงษ์ พื้นพรม (16) 6,370
ความหวังใหม่ ไพโรจน์ สุขสุวรรณ (9) 6,014
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) คงสิทธิ์ ทรงกรด (17) 4,772
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) เกรียงศักดิ์ ไกรรักษ์ (18) 3,821
ประชาธิปัตย์ เวียงชัย ศรีวิพัฒน์ (28) 2,377
ประชาธิปัตย์ นิมิตร จินาวัลย์ (29) 2,338
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จุรินทร์ วรโพธิ์ (6) 1,559
ประชาธิปัตย์ ปราศรัย พรหมทา (30) 1,481
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุประดิษฐ์ คงสมพรต (5) 1,360
มวลชน ถวัลย์ คำโท (19) 637
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พุฒ หงษ์คำ (24) 620
ประชากรไทย สมพงษ์ สีดา (27) 494
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สงบ ตกกลาง (23) 471
ราษฎร (พ.ศ. 2529) นอง ตกกลาง (22) 436
ประชากรไทย บุญกลม บุญพอ (25) 422
ประชากรไทย เจน สิงห์ชอบ (26) 405
มวลชน อภิวัชร์ ถึงไชย (20) 392
มวลชน สุทธิชัย เสียงสนั่น (21) 307
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536