ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน503,657
ผู้ใช้สิทธิ72.43%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Somboon rahong.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ ชวลิต ยงใจยุทธ สมบุญ ระหงษ์
พรรค สามัคคีธรรม ความหวังใหม่ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น2 ลดลง1

  Fourth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 4
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง4

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และกิ่งอำเภอเมืองปาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ บุญชู ตรีทอง (4) 107,630
สามัคคีธรรม ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (2)* 97,652
ความหวังใหม่ บุญหลง ถาคำฟู (5)* 79,353
สามัคคีธรรม สอาด ปิยวรรณ (1)* 77,904
พลังธรรม สว่าง ไชยวุฒิ (7) 67,237
ความหวังใหม่ วาสิต พยัคฆบุตร (6) 50,111
พลังธรรม สำคัญ วรรณบวร (8) 47,025
สามัคคีธรรม ประสบ แสนคำเครือ (3) 44,026
พลังธรรม พีรศิษฎ์ ตรีราช (9) 35,901
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ชิตพล ณ จันทร์ตา (10) 665
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) พิมาย มั่นขัน (12) 353
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สุจีน เครือบุญมา (11) 343
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม พินิจ จันทรสุรินทร์ (2)* 82,765
สามัคคีธรรม บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ (1)* 44,914
พลังธรรม ชวน ชูจันทร์ (5) 29,570
พลังธรรม สุภาพ อุปอินทร์ (6) 26,939
ความหวังใหม่ ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน (11)✔ 24,730
กิจสังคม สมศักดิ์ สลีวงศ์ (9) 19,277
ความหวังใหม่ อวด อำไพภักดิ์ (12) 2,123
กิจสังคม สมภรณ์ เจนใจ (10) 2,042
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สมพงษ์ บันต๊ะ (7) 769
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) แดง ทากาบุตร (8) 697
เกษตรเสรี ธนกร พุทธิมา (13) 182
เกษตรเสรี เหรียญ สิทธิชยากุล (14) 166
ชาวไทย ประยูร ภมรศิริ (3)
ชาวไทย อัมพร ประดิษฐ์พุ่ม (4)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535