ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน401,523
ผู้ใช้สิทธิ80.51%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ ชาติชาย ชุณหะวัณ พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชาติไทย สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำปาง, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ, อำเภองาว และกิ่งอำเภอเมืองปาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สอาด ปิยวรรณ (1)* 157,211
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (10) 139,977
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญหลง ถาคำฟู (11)* 129,573
พลังธรรม วาสิต พยัคฆบุตร (16) 41,834
พลังธรรม กวี ณ ลำปาง (17) 24,598
พลังธรรม กิจจา วรกุล (18) 18,076
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน (4)✔ 13,085
ชาติไทย เจริญ วงค์อุบล (2) 7,226
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ขัยกฤตย์ สิวาพานิช (12) 6,328
ชาติไทย ณรงค์ วิชัยขัทคะ (3) 5,206
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประยูร ภมรศิริ (7) 4,299
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิรัช เจริญสวัสดิ์ (9) 2,844
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นฤเทพ วิทยาธนานุวัฒน์ (8) 2,655
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สำเนาว์ คุ้มเพชร (15) 2,191
พลังสังคมประชาธิปไตย รำพึง เครือนวล (25) 1,775
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุจินดา นาดี (14) 1,519
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จำเริญ เครือมาตา (6) 1,356
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธเนศ นันเปียง (13) 1,329
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พันตรี ไพโรจน์ ณ ลำปาง (21) 1,107
ประชาชน (พ.ศ. 2531) เจริญ บุญยโกศล (19) 1,041
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ประสาน พริงลำภู (20) 1,011
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพศาล เทวาพิทักษ์ (5) 986
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ปรีชา มีฉลาด (30) 507
กิจประชาคม ทนุ ชื่นฟูวุฒิ (22) 483
พลังสังคมประชาธิปไตย วรวิทย์ ฤทธิ์เดช (26) 309
กิจประชาคม บรรเจิด กิจเฟื่องฟู (24) 239
พลังสังคมประชาธิปไตย ธวัชชัย ศรีย่าบ (27) 233
กิจประชาคม สว่าง ธนะขว้าง (23) 227
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ณรงค์ พงษ์มะลิวัลย์ (28) 179
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ชม ณ ลำปาง (29) 124
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ทะ, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และอำเภอแม่เมาะ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พินิจ จันทรสุรินทร์ (2)* 95,594
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ (1)* 80,375
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นิคม เทพมณี (3) 23,456
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิบตรี นวลศักดิ์ ชัยลอม (4) 9,722
กิจประชาคม อดุลย์ เตชะพงศ์ (5) 3,394
กิจประชาคม จรัญ อุปรานุเคราะห์ (6) 1,547
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ต๋าคำ ศรีอึก (8) 825
เกษตรอุตสาหกรรมไทย หล้า ศรีชัยวงศ์ (7) 801
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532