จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522
หน้าตา
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 359,728 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 53.23% | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ และอำเภองาว
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ไม่สังกัดพรรค | ประพันธ์ พยัคฆบุตร (7) | 33,715 | ' | ' | |
ชาติไทย | สอาด ปิยวรรณ (5)* | 33,390 | |||
ไม่สังกัดพรรค | บุญหลง ถาคำฟู (4) | 30,047 | |||
กิจสังคม | นพดล สมบูรณ์ (2) | 26,625 | |||
กิจสังคม | ชัยสิน มณีนันท์ (3) | 23,891 | |||
ชาติไทย | ดุสิต พานิชพัฒน์ (6)✔ | 17,677 | |||
ไม่สังกัดพรรค | ประยูร ภมรศิริ (1) | 6,001 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก แนวร่วมประชาธิปไตย | |||||
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก แรงงาน (ประเทศไทย) |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก, อำเภอเสริมงาม และกิ่งอำเภอแม่เมาะ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
กิจสังคม | บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ (1)* | 45,141 | |||
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) | พินิจ จันทรสุรินทร์ (4)✔ | 34,177 | |||
กิจสังคม | บุญเรือง ชุ่มอินทรจักร (5)* | 30,790 | |||
ชาติไทย | ทำนอง ไชยประภา (3) | 20,087 | |||
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) | เจริญ ปัญญาบุตร (2) | 17,171 | |||
ประชาธิปัตย์ | บรรเทิง เครือคำอ้าย (6) | 15,308 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
กิจสังคม รักษาที่นั่ง | |||||
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519
- จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
อ้างอิง
[แก้]- ↑ รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523