ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน719,314
ผู้ใช้สิทธิ59.31%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Montri Phongphanit.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ มนตรี พงษ์พานิช ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ความหวังใหม่ กิจสังคม สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0 เพิ่มขึ้น2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Somboon rahong.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ ชวน หลีกภัย ปราโมทย์ นาครทรรพ
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ รวมพลังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง1

  Seventh party
 
มานะ รัตนโกเศศ.jpg
ผู้นำ มานะ รัตนโกเศศ
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย, กิ่งอำเภอศรีสมเด็จ และกิ่งอำเภอจังหาร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย อนุรักษ์ จุรีมาศ (7)* 70,705
สามัคคีธรรม บรรจง โฆษิตจิรนันท์ (22) 62,470
ความหวังใหม่ เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ (12) 61,341
ชาติไทย ศิริพันธ์ จุรีมาศ (8)* 45,284
กิจสังคม ฉลาด ขามช่วง (13) 39,621
ความหวังใหม่ ประณต เสริฐวิชา (10)* 30,053
ความหวังใหม่ ดำรงศักดิ์ นันโท (11) 19,577
พลังธรรม นิวัฒน์ อนันทะวัน (25) 19,396
พลังธรรม รัชนีพร รัตนถาวร (26) 9,420
ประชากรไทย ทองดี จันทภูมิ (19) 8,750
รวมพลังใหม่ เสถียร ยุระชัย (4) 8,038
เอกภาพ พูนสวัสดิ์ นาทองคำ (18) 6,594
พลังธรรม สมยศ ธรรมศิลป์ (27) 6,401
เอกภาพ สานิต ว่องสัธนพงษ์ (16) 5,931
ประชาธิปัตย์ ธงชัย ธราวุธ (36) 4,671
เอกภาพ สุรพล หมื่นภิรมย์ (17) 3,827
สามัคคีธรรม ประสงค์ เจริญพันธ์วุฒิกุล (24) 2,061
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุทิน วรรณโชติ (1) 2,043
ชาติไทย สัมฤทธิ์ กงแหลม (9) 2,023
มวลชน ปกรณ์ คุณารักษ์ (31) 2,012
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เรือเอก คำภู อุดมพร (3) 1,816
กิจสังคม ทวีสิน อุ่นสมัย (15) 1,807
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ธวัชชัย วรรณโชติ (2) 1,716
สามัคคีธรรม ปรีดี ยิ่งรักศรีศักดิ์ (23) 1,600
ประชากรไทย บุญดา ศรีอุปรัตน์ (21) 1,312
รวมพลังใหม่ เกียรติศักดิ์ จำนงกิจ (6) 1,185
ประชาธิปัตย์ ประสิทธิ์ สิงนิสัย (35) 943
กิจสังคม ไพบูลย์ พัฒนสระคู (14) 918
มวลชน ชาญชัย ฮวดศรี (32) 631
เกษตรเสรี คาระวะ น้อยโสภา (45) 622
ประชาธิปัตย์ นรินทร์ โอสายไทย (34) 599
เกษตรเสรี พรพิศิษฐ์ ศิริพรหม (43) 553
ประชากรไทย เทพนภา แก้วไกรษร (20) 548
รวมพลังใหม่ ธงชัย เยาวเรศน์ (5) 446
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สงกรานต์ สาพรมมา (28) 314
เกษตรเสรี กมลา ไชยเลิศ (44) 281
สหประชาธิปไตย ชูชาติ วันทะไชย (37) 225
มวลชน สุเมธ โยธาศิริ (33) 219
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) โกวิทย์ คำแหงพล (29) 202
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) เพชรชาย เพ็ญสุต (30) 138
สหประชาธิปไตย มาลี ศักดิ์สุระ (38) 108
สหประชาธิปไตย อนงค์ สุทธศรี (39) 66
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ชัชวาลย์ ชมภูแดง (22)* 56,516
กิจสังคม ระวี หิรัญโชติ (9)* 44,459
ความหวังใหม่ ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (25)* 37,082
ความหวังใหม่ เกษม มาลัยศรี (27) 33,135
สามัคคีธรรม สุชาติ เมืองหงษ์ (23) 27,022
ชาติไทย วรพจน์ ชันษา (20) 26,627
เอกภาพ อุดม มณีวรรณ (5) 24,358
ความหวังใหม่ เวียง วรเชษฐ์ (26)✔ 22,532
สามัคคีธรรม ประมวล เสนาเพ็ง (24) 21,064
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กฤษณะ แสนสำโรง (1) 19,446
เอกภาพ ธีระพงศ์ พานทอง (4) 13,592
รวมพลังใหม่ สายันต์ อินสอน (13) 12,929
เอกภาพ สมบัติ ขันโมลี (6) 7,124
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ไวกูณฐ์ ศิริสังข์ไชย (16)✔ 6,610
รวมพลังใหม่ ประมวล อุปเสริฐ (15) 5,772
พลังธรรม สวาสดิ์ นาคศรี (29) 5,357
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) เต็มสิริ ศิริสังข์ไชย (17) 5,157
พลังธรรม จำนง บำเรอ (28) 5,153
พลังธรรม นิยม อินเสนา (30) 4,746
ชาติไทย สุเทพ ฤทธิวุฒิ (21) 2,776
รวมพลังใหม่ หวัน แก้วสมบัติ (14) 1,904
ชาติไทย วงษ์เดช วรวุฒิ (19) 1,253
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ไพวรรณ เศษแสนวงศ์ (3) 1,055
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สำรวล จำปา (2) 1,019
กิจสังคม อดุลย์ สิงห์สถิตย์ (8) 999
เกษตรเสรี สุทธิลักษณ์ ทนงแผลง (35) 852
กิจสังคม ไพโรจน์ สิงห์สถิตย์ (7) 850
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) คมน์ ศิริสังข์ไชย (18) 699
เกษตรเสรี พรชัย พรมวงศ์ (36) 658
สหประชาธิปไตย อำพร จันทะโยธา (32) 536
สหประชาธิปไตย พรมมา พัฒนสาร (31) 372
สหประชาธิปไตย สุนี แนนอุดร (33) 369
เกษตรเสรี ไพบูลย์ เหลืองวิเศษ (34) 338
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก รวมพลังใหม่
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (17)* 32,503
ความหวังใหม่ สุรพร ดนัยตั้งตระกูล (1)✔ 28,095
เอกภาพ เอกภาพ พลซื่อ (9) 23,273
ความหวังใหม่ ดำรงค์ ดอนสกุล (2) 19,842
ชาติไทย เยี่ยมพล พลเยี่ยม (5)* 19,834
สามัคคีธรรม นิรมิต สุจารี (12) 14,835
สามัคคีธรรม ชัยศักดิ์ ทะไกรราช (11) 13,109
ประชากรไทย โกศล แวงวรรณ (15)✔ 4,192
พลังธรรม สมาน พรหมชัยนันท์ (13) 3,385
เอกภาพ ณรงค์ นาทองคำ (10) 3,373
พลังธรรม มงคล สายมณีรัตน์ (14) 2,770
กิจสังคม ธำรงค์ ไวยวุธ (18) 2,490
มวลชน วิทยา สุริโย (7) 1,172
เกษตรเสรี ยงยุทธ ขัติยนนท์ (23)✔ 879
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศรัณย์ วงศ์คำจันทร์ (20) 737
มวลชน พัฒน์ นีละพันธ์ (8) 642
ประชากรไทย เชวินทร์ มูลศรีแก้ว (16) 391
ชาติไทย ทองศรี ดวงจำ (6) 387
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อภิศักดิ์ สุรพินิจ (19) 258
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ปรางทิพย์ ศิริสังข์ไชย (21) 141
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สุคิด สุ่มมาตย์ (22) 79
เกษตรเสรี สถิตย์ กตารัตน์ (24) 75
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535