ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน863,645
ผู้ใช้สิทธิ61.26%
  First party Second party Third party
 
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ชวลิต ยงใจยุทธ บรรหาร ศิลปอาชา ชวน หลีกภัย
พรรค ความหวังใหม่ ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 3 4 1
ที่นั่งที่ชนะ 5 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง3 Steady0

  Fourth party Fifth party
 
สุเมธ พรมพันห่าว.jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ สุเมธ พรมพันห่าว มนตรี พงษ์พานิช
พรรค เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภอศรีสมเด็จ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอจังหาร และกิ่งอำเภอเชียงขวัญ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ เวียง วรเชษฐ์ (7)✔ 92,066 50.63
ประชาธิปัตย์ ฉลาด ขามช่วง (4)* 86,178 47.39
ชาติไทย อนุรักษ์ จุรีมาศ (1)* 85,626 47.08
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สานิต ว่องสัธนพงษ์ (10) 85,274 46.89
ความหวังใหม่ เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ (8)* 83,338 45.83
ความหวังใหม่ ประณต เสริฐวิชา (9)✔ 21,434 11.78
ประชาธิปัตย์ บุญเที่ยง อารีเอื้อ (5) 2,708 1.48
ชาติไทย สัมฤทธิ์ กงแหลม (2) 2,429 1.33
ประชาธิปัตย์ ศักดา ยุรชัย (6) 2,139 1.17
ชาติไทย วิชิต จอมคำศรี (3) 1,888 1.03
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) อำนาจ วงค์หนองหว้า (11) 1,425 0.78
ประชากรไทย เสรีไทย วรนาม (19) 903 0.49
พลังธรรม ไสว จิตเพียร (25) 851 0.46
กิจสังคม วิไล ไชยธงรัตน์ (15) 336 0.18
พลังธรรม สุทัศน์ ยอยโพธิ์สัย (26) 305 0.16
ประชากรไทย ทัศพร ลือไพบูลย์ (20) 266 0.14
พลังธรรม วิวัฒน์ สมพงษ์ (17) 265 0.14
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) บรรจง โสดารัตน์ (12) 224 0.12
เอกภาพ สมจิต เหล่ายนขาม (17) 214 0.11
เอกภาพ สมหมาย จันทรประทักษ์ (18) 191 0.10
เสรีประชาธิปไตย ไพฑูรย์ อายุวัฒน์ (24) 181 0.09
เอกภาพ จันทร์เยี่ยม รัตนภักดี (16) 141 0.07
กิจสังคม ชีพชูชัย วงษ์จันลา (14) 128 0.07
กิจสังคม ไพโรจน์ สิงห์สถิตย์ (13) 99 0.05
ประชากรไทย วิรัช บุญทัน (21) 94 0.05
เสรีประชาธิปไตย ศรีสวัสดิ์ เจริญเกียรติ (23) 80 0.04
เสรีประชาธิปไตย ศักดิ์สุริยา สุวรรณธาดา (22) 67 0.03
บัตรดี 181,837 97.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 886 0.48
บัตรเสีย 3,461 1.86
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 186,184 62.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 300,164 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอโพนทราย, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอหนองฮี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (10)* 94,894 57.84
กิจสังคม ระวี หิรัญโชติ (1)✔ 94,434 57.56
ความหวังใหม่ ศักดา คงเพชร (11)* 88,817 54.14
ชาติไทย ชัชวาลย์ ชมภูแดง (4)* 66,092 40.28
มวลชน เกษม มาลัยศรี (15)✔ 35,163 21.43
ความหวังใหม่ สุพิน บุญนนท์ (12) 4,084 2.48
ประชาธิปัตย์ อามร สมทรัพย์ (7) 3,746 2.28
กิจสังคม วิชัย จุลละมณี (2) 3,454 2.10
ชาติไทย พิทักษ์ โคตวงษ์ (5) 2,549 1.55
กิจสังคม อดุลย์ ศรีวะรมย์ (3) 2,503 1.52
ประชาธิปัตย์ วนิดา ภูภักดี (8) 2,340 1.42
มวลชน จรัญ วลัยศรี (14) 2,172 1.32
ประชาธิปัตย์ สายันต์ อินสอน (9) 1,820 1.10
ชาติไทย วิชิต กล้าหาญ (6) 1,468 0.89
ประชากรไทย โชติกะ เพชรเลื่อน (25) 1,187 0.72
มวลชน บุญรอง นิจกรรม (13) 611 0.37
พลังธรรม จำนง บำเรอ (22) 495 0.30
เอกภาพ รวงทอง จันทรประทักษ์ (20) 466 0.28
พลังธรรม โยธิน วิชัย (24) 458 0.27
เสรีประชาธิปไตย เสน่ห์ ถาวร (30) 409 0.24
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ธีรศานต์ ศรีขัดเค้า (16) 398 0.24
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สมควร สาลี (17) 323 0.19
พลังธรรม ทองปน ศรีสันต์ (23) 293 0.17
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) พรสรร อาวรณ์ (18) 266 0.16
เอกภาพ สงวน จันทรประทักษ์ (21) 257 0.15
เอกภาพ สายยันต์ สมฤาแสน (19) 240 0.14
เสรีประชาธิปไตย ไพโรจน์ แสนจันทร์ (28) 216 0.13
ประชากรไทย สมชัย วิเวกวินย์ (26) 211 0.12
ประชากรไทย บุญมา จันทะพันธ์ (27) 206 0.12
เสรีประชาธิปไตย ตุ๊ ไกรยะวงศ์ (29) 177 0.10
บัตรดี 164,043 97.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 470 0.28
บัตรเสีย 3,181 1.90
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 167,694 61.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 274,336 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภออาจสามารถ, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอโพนทอง, อำเภอโพธิ์ชัย, อำเภอหนองพอก และอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ สุรพร ดนัยตั้งตระกูล (1)* 115,022 65.66
ความหวังใหม่ นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (2)✔ 92,607 52.87
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) เอกภาพ พลซื่อ (16)* 78,732 44.94
ความหวังใหม่ นิรมิต สุจารี (3) 69,441 39.64
ชาติไทย ชัยศักดิ์ ทะไกรราช (15)* 50,138 28.62
มวลชน เยี่ยมพล พลเยี่ยม (4)✔ 14,519 8.28
ประชาธิปัตย์ จักรกริศน์ ประเสริฐสังข์ (10) 4,584 2.61
ประชาธิปัตย์ ปัญญา เพ็งอารีย์ (11) 3,834 2.18
ชาติไทย อภิชาติ แห้วแสง (14) 2,669 1.52
กิจสังคม บดินทร์ คชมิตร (19) 841 0.48
ประชาธิปัตย์ ตระกูล อรรถวิเศษ (12) 818 0.47
ชาติไทย สนอง ชาระมาตย์ (13) 701 0.40
มวลชน อัมพร นวลสุวรรณ (5) 659 0.38
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) บุญกอง น้อยอามาตย์ (17) 554 0.32
ประชากรไทย นพคุณ มานะที (26) 506 0.29
ประชากรไทย วิชัย ประเสริฐสังข์ (25) 454 0.26
มวลชน มนูญ จุฬุพงศ์ (6) 439 0.25
พลังธรรม ศักดา พรศักดา (9) 334 0.19
พลังธรรม โสภิต จันทไทย (8) 329 0.19
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) สุราช แวงอุ้ย (18) 305 0.17
เอกภาพ ลักขณา ดวงเดือน (24) 288 0.16
พลังธรรม พิชัย คามวัลย์ (7) 275 0.15
เอกภาพ ประมวล บัวธรา (22) 239 0.13
เสรีประชาธิปไตย จรัล ตุลากัลย์ (30) 110 0.06
กิจสังคม ประกร ศรีวะรมย์ (20) 87 0.05
เอกภาพ เดช สังฆะกาโร (23) 85 0.04
ประชากรไทย สุภาพ ชินคำนนท์ (27) 77 0.04
กิจสังคม ประสพ ศรีวะรมย์ (21) 75 0.04
เสรีประชาธิปไตย แดง โพธิจักร (29) 54 0.03
เสรีประชาธิปไตย สุรพงษ์ ช่างจัตุรัส (28) 32 0.01
บัตรดี 172,034 98.22
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 486 0.28
บัตรเสีย 2,635 1.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 175,155 60.58
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 289,135 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 17 พฤศจิกายน 2539. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2540