ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน544,832
ผู้ใช้สิทธิ72.46%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา ชาติชาย ชุณหะวัณ เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค กิจสังคม ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล ชัชวาลย์ ชมภูแดง พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังสังคมประชาธิปไตย สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Seventh party Eighth party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) กิจประชาคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอศรีสมเด็จ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย อนุรักษ์ จุรีมาศ (19)* 82,785
ประชาธิปัตย์ ประณต เสริฐวิชา (1) 81,286
ชาติไทย ศิริพันธ์ จุรีมาศ (20)✔ 68,846
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เยาวณี นิรันดร (16) 41,548
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุ่นเรือน อารีเอื้อ (17)* 20,346
ประชาธิปัตย์ สัมฤทธิ์ พูนลาภ (2) 12,143
พลังธรรม ร้อยตรี ภักดี เกิดประดิษฐ์ (14) 11,835
พลังธรรม จันทหร จันฤาชัย (13) 9,717
พลังธรรม บุญเจือ ข่าทิพย์พาที (15) 7,528
กิจประชาคม เรือเอก คำภู อุดมพร (25) 6,311
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สุริยา โพธิ์ศรี (9) 4,145
ประชาธิปัตย์ ยศพงศ์ พิมพ์ดี (3) 3,729
พลังสังคมประชาธิปไตย ธงชัย เยาวเรศน์ (12) 3,050
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุชาติ วันทะยา (18) 2,734
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อำพันธ์ คามบุตย์ (23) 2,674
ประชากรไทย เสนอ วรรณสุทธิ์ (5) 2,533
ชาติไทย ถวรรณ์ วิทยา (21) 2,529
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วชิระ เศษแสงศรี (24) 2,505
ประชากรไทย ชัยวัฒน์ ศรีเจริญมงคล (4) 1,780
พลังสังคมประชาธิปไตย วีระ ปพนวิช (10) 1,598
ประชากรไทย สิบโท ชัยศิลป์ ศิลญานุภาพ (6) 1,455
พลังสังคมประชาธิปไตย ทองใบ อรรถวิเศษ (11) 1,263
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ทรงฤทธิ์ อุทัยขาม (7) 871
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กำจัด สังฆะศรี (22) 724
รวมไทย (พ.ศ. 2529) แอด แป๊ะพานิช (29) 558
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พร สาวิสิทธิ์ (8) 501
กิจประชาคม บัวพา สิงห์โค (26) 479
กิจประชาคม อำนาจ พิณเหลือง (27) 382
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สง่า ผกานนท์ (30) 330
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประพนธ์ จันทร์เจือ (28) 163
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจประชาคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังสังคมประชาธิปไตย ชัชวาลย์ ชมภูแดง (10)✔ 88,930
กิจสังคม ระวี หิรัญโชติ (20)* 50,533
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (24)* 31,360
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วรพจน์ ชันษา (25) 29,978
พลังสังคมประชาธิปไตย อุดม มณีวรรณ (11) 29,429
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เวียง วรเชษฐ์ (22)* 22,976
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เกษม มาลัยศรี (7) 17,645
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ถวิล พิมพ์มหินทร์ (13)✔ 15,390
สหประชาธิปไตย สุธรรม ปัทมดิลก (6)✔ 11,246
พลังสังคมประชาธิปไตย ธีร อินทรวรศิลป์ (12) 10,958
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เสรี บุญเจริญ (26) 8,873
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมบูรณ์ บุตรบุญชู (14) 7,336
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ดวงกมล มีสวัสดิ์ (15) 6,464
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ เหลืองวิเศษ (1) 5,812
กิจสังคม วีระ กองสุข (21) 2,898
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไสว ขุมหิรัญ (8) 2,796
พลังธรรม บุญเลิศ โยสีดา (39) 2,781
ประชาชน (พ.ศ. 2531) จำนง บำเรอ (17) 2,328
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พันจ่าเอก ชูศักดิ์ ทาระคำ (35)✔ 1,847
พลังธรรม ธีรพงษ์ ลาดศิลา (37) 1,821
พลังธรรม พลศิลป์ ศรีประเสริฐ (38) 1,663
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ร้อยเอก เติมศักดิ์ ช่างหล่อ (34)✔ 1,646
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ตรีทศยุทธ ทวีพงศ์สกุลเลิศ (16) 1,321
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) บรรเลง สร้อยศรี (9) 1,289
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมพงษ์ ช่วยสมบูรณ์ (23) 1,254
ประชาธิปัตย์ โอภาส สำแดงเดช (2) 780
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พรหมมา ลครรำ (27) 715
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ศักดา ทาระคำ (36) 656
กิจสังคม อดุลย์ สิงห์สถิตย์ (19) 576
สหประชาธิปไตย ธีระยุทธ ระโยธี (4) 569
สหประชาธิปไตย สุเมธ ทรัพย์เรืองเนตร (5) 531
ประชาธิปัตย์ เทพนภา แก้วไกรษร (3) 519
ประชาชน (พ.ศ. 2531) นรินทร์ สิงหพันธุ์ (18) 469
มวลชน อำนวย ชุปวา (30) 459
มวลชน พิชัย จรหนองหว้า (29) 403
มวลชน ธนพร ชุปวา (28) 366
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ธงชัย ศรีวิเศษ (32) 277
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญรินทร์ นาเมืองรักษ์ (31) 249
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อดุลย์ พลเยี่ยม (33) 115
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังสังคมประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจประชาคม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจประชาคม

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เยี่ยมพล พลเยี่ยม (19) 28,993
กิจสังคม นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (1)* 27,935
ประชาธิปัตย์ สุรพร ดนัยตั้งตระกูล (7)* 22,349
ประชาธิปัตย์ เฉลียว คล้ายหนองสรวง (8)✔ 16,450
ชาติไทย ชัยศักดิ์ ทะไกรราช (17) 14,537
กิจประชาคม เอกภาพ พลซื่อ (21) 13,723
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประสงค์ โพดาพล (9)✔ 11,095
กิจประชาคม ยงยุทธ ขัติยนนท์ (22)✔ 7,112
กิจสังคม ดำรงศักดิ์ นันโท (2) 5,844
รวมไทย (พ.ศ. 2529) โกศล แวงวรรณ (10)✔ 4,966
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นิภาภรณ์ ดวงจำ (14) 3,111
ประชาชน (พ.ศ. 2531) มานิจ ท่าไคร้กลาง (16) 2,513
ประชากรไทย มงคล สายมณีรัตน์ (24) 1,398
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ไพโรจน์ ศาสตราวาหะ (15)✔ 1,355
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุนทร เศรษฐีแสง (3) 1,237
พลังสังคมประชาธิปไตย วินัย อุดมทรัพย์ (12) 1,076
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) คำโพธิ์ ทารมย์ (13) 752
ชาติไทย พิทักษ์ ทะไกรราช (18) 646
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิเชียร ทมมาสุต (4) 520
พลังสังคมประชาธิปไตย ไพบูลย์ ดิษฐเนตร (11) 416
มวลชน บุญตา หมื่นหาวงษ์ (5) 393
มวลชน เทียบไทย นาถประนิล (6) 313
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทองดี ไหวดี (20) 267
ประชากรไทย ไชยรัตน์ กุลสุวรรณ (23) 172
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532