ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน521,372
ผู้ใช้สิทธิ74.56%
  First party Second party Third party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร สิทธิ เศวตศิลา เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พรรค กิจประชาคม กิจสังคม ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 2 4
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0 ลดลง3

  Fourth party Fifth party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
บุญเท่ง ทองสวัสดิ์.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล บุญเท่ง ทองสวัสดิ์
พรรค ประชาธิปัตย์ สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอโพธิ์ชัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจประชาคม อุ่นเรือน อารีเอื้อ (10) 78,573
สหประชาธิปไตย อนุรักษ์ จุรีมาศ (2) 64,563
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (4)* 55,281
สหประชาธิปไตย ศิริพันธ์ จุรีมาศ (1)* 45,610
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พันเอก (พิเศษ) อุดม ทวีวัฒน์ (6)✔ 44,594
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ประณต เสริฐวิชา (5) 35,156
ประชาธิปัตย์ ร้อยเอก คำภู อุดมพร (13) 20,575
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วรพจน์ ชันษา (7) 12,474
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จักรกริศน์ ประเสริฐสังข์ (8) 12,339
รักไทย จ่าสิบตำรวจ ธวัช วรรณโชค (34) 5,312
ประชาธิปัตย์ เถลิง แก้วเสน่ห์ (14) 3,947
สหประชาธิปไตย ถวรรณ์ วิทยา (3) 2,666
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ เหลืองวิเศษ (15) 2,427
กิจประชาคม พีระ อัญญโพธิ์ (11) 2,188
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชนะ โพธิ์กุลศรี (28) 1,371
กิจประชาคม อุดม ชมภูวิเศษ (12) 1,178
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทวีสิน อุ่นสมัย (9) 1,145
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กำจัด สังฆะศรี (29) 1,077
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จาคิณา สุจินดาวัฒน์ (37) 1,075
พลังใหม่ เชฎฐวัฒน์ ฉวีวงศ์ (22) 543
มวลชน วิมล ภาคมฤค (40) 505
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยโท สูงส่ง การุณ (32) 476
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ขวัญใจ ดิษย์มาลย์ (38) 383
ประชากรไทย ทรงฤทธิ์ อุทัยขาม (25) 373
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เปรมฤดี ชิณเพ็ง (39) 372
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประชัน เป้าจังหาร (30) 371
พลังใหม่ ธนบวร เทียมสระคู (24) 368
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เขียน สุพรม (31) 355
รักไทย ประจิตร บำรุง (36) 330
รักไทย ยุพิน กมลโกมุท (35) 323
พลังใหม่ เดชชัย สุกใส (23) 301
แรงงานประชาธิปไตย นิคม โทนหงสา (20) 300
รวมไทย (พ.ศ. 2529) กลิ่น ลาคำ (18) 269
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชัย รัตนะ (16) 252
ประชากรไทย มีเดช น้ำบุ่น (27) 251
แรงงานประชาธิปไตย บุญชู สิงหเทพ (21) 247
ประชากรไทย ปราโมทย์ พุทธวงศ์ (26) 231
แรงงานประชาธิปไตย มานิจ คำภักดี (19) 227
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สัวะ ทองทับ (17) 204
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นพดล นนทวิลาศ (33) 141
มวลชน ปรีชา เอื้อการ (42) 140
มวลชน บุญกอง น้อยอามาตย์ (41) 134
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมไพร, อำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ระวี หิรัญโชติ (10) 62,464
กิจประชาคม เวียง วรเชษฐ์ (1)* 56,200
กิจประชาคม ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (2)* 55,249
ประชาธิปัตย์ เด่นพงษ์ พลละคร (4) 32,662
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เสรี บุญเจริญ (14) 30,634
พลังใหม่ ชัชวาลย์ ชมภูแดง (28)✔ 26,220
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ถวิล พิมพ์มหินทร์ (13)✔ 17,210
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ไวกูณฐ์ ศิริสังข์ไชย (15)✔ 17,165
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธีระพงศ์ พานทอง (7) 16,668
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ดำรงศักดิ์ นันโท (20) 13,843
กิจประชาคม สุธรรม ปัทมดิลก (3)✔ 10,859
ประชาธิปัตย์ จำนง บำเรอ (6) 6,286
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สวัสดิ์ คำชาย (19) 5,623
กิจสังคม ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ (11)* 4,947
กิจสังคม นุรักษ์ ใยบัว (12) 4,155
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญมาก สมาลีย์ (18) 3,391
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สังวาลย์ สุขุมาลพิทักษ์ (9) 3,238
ประชาธิปัตย์ เพิ่มพูน พลละคร (5) 2,873
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วรวิทย์ เชิงสะอาด (8) 2,781
พลังใหม่ ธีร อินทรวรศิลป์ (30) 2,641
พลังใหม่ วิชาญ แน่นอุดร (29) 2,587
สหประชาธิปไตย ประมวล ถนัดค้า (22) 1,383
ราษฎร (พ.ศ. 2529) บุญ ช่วงไกร (21) 1,333
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุพรรณ ศรีทองขำ (38) 1,108
รักไทย ประจวบ เสนาเพ็ง (31) 991
รักไทย สอน ผิวสะอาด (33) 693
รักไทย ประยูร เรืองรอง (32) 545
สหประชาธิปไตย สมชัย สนิท (24) 489
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เจริญ ยิ่งยงสันต์ (27) 488
สหประชาธิปไตย ไพบูลย์ พัฒนสระคู (23) 472
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญชู แสงแก้ว (17) 464
แรงงานประชาธิปไตย พนม ศรีเวียง (34) 367
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อ่อน สัตพันธ์ (16) 347
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นิวัตร จงคูณกลาง (25) 329
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เผด็จ ธัญญะภู (39) 210
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เกียรติศักดิ์ จำนงกิจ (37) 173
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) คำฝั่น วรรณสิทธิ์ (26) 168
แรงงานประชาธิปไตย สุพัฒน์ วรรณเสน่ห์ (35) 161
แรงงานประชาธิปไตย สมหมาย กองผาพา (36) 144
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
กิจประชาคม ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก และกิ่งอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรพร ดนัยตั้งตระกูล (2) 26,349
กิจสังคม นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (9) 20,969
กิจประชาคม เยี่ยมพล พลเยี่ยม (12) 19,704
สหประชาธิปไตย ประสงค์ โพดาพล (7)* 17,489
กิจประชาคม ชัยศักดิ์ ทะไกรราช (11) 16,305
กิจสังคม เอกภาพ พลซื่อ (10) 12,477
ชาติไทย ยงยุทธ ขัติยนนท์ (3)✔ 11,549
ประชาธิปัตย์ เฉลียว คล้ายหนองสรวง (1)* 11,193
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สมาน พรหมชัยนันท์ (6) 10,224
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) โกศล แวงวรรณ (5)✔ 8,925
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พิลึก แสงใส (13) 2,634
สหประชาธิปไตย เสถียร ยุระชัย (8) 2,609
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุภาพ ชินคำนนท์ (15) 2,163
ชาติไทย สมพงษ์ โพธิ์ไพร (4) 441
พลังใหม่ ศักดา พรศักดา (19) 222
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เรืองฤทธิ์ อิศรานุวัฒน์ (14) 177
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิเศษ สุริโย (16) 156
แรงงานประชาธิปไตย อุเทน กุลสุวรรณ (22) 131
แรงงานประชาธิปไตย เทียน สังฆะมาลา (21) 113
พลังใหม่ สุระชาย เนตรวงษ์ (20) 100
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) อัศวิน ศิลปักษา (17) 99
รักไทย จำรัส จรรยา (23) 66
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ธนพร ชุปวา (25) 51
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วัชรินทร์ ศรีรับขวา (18) 50
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิรัตน์ กมลโกมุท (26) 41
รักไทย สุรพงศ์ ยะนะโชติ (24) 23
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530