ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน494,173
ผู้ใช้สิทธิ64.94%
  First party Second party Third party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พิชัย รัตตกุล
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) กิจสังคม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
ผู้นำ บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์ ทวี จุลละทรัพย์ ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522) ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองร้อยเอ็ด, อำเภอธวัชบุรี, อำเภออาจสามารถ และอำเภอพนมไพร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ (2)* 81,763
กิจสังคม ศิริพันธ์ จุรีมาศ (1) 75,757
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ (3)* 46,995
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) วรพจน์ ขันษา (4) 35,198
ไม่สังกัดพรรค ประณต เสริฐวิชา (9) 26,029
กิจสังคม สัมฤทธิ์ พูลลาภ (13) 21,332
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ธีระพงศ์ พานนทอง (5) 15,873
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สำราญ รัตนพันธ์ (6) 8,098
ประชาเสรี กว้าง สุวภาพ (14) 6,589
พลังใหม่ ลักษณ์ นิติวัฒนวิจารณ์ (12) 6,577
ไม่สังกัดพรรค นพพร โลหาวุธ (7) 1,179
ไม่สังกัดพรรค สุทัศน์ ลักษณะงาม (10) 1,087
ไม่สังกัดพรรค บรรพต เขตบรรจง (8) 710
ไม่สังกัดพรรค แดน ด่านวันดี (11) 474
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522)
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก เสรีธรรม (พ.ศ. 2522)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอโพนทอง, อำเภอเสลภูมิ, อำเภอหนองพอก, อำเภอโพธิ์ชัย และกิ่งอำเภอเมยวดี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ประสงค์ โพดาพล (11) 22,890
ประชาธิปัตย์ เฉลียว คล้ายหนองสรวง (6)✔ 18,814
ไม่สังกัดพรรค นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ (16) 17,595
ประชาธิปัตย์ เยี่ยมพล พลเยี่ยม (7) 16,445
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ยงยุทธ ขัติยนนท์ (3)* 15,322
ประชาเสรี ทองบ่อ ประทุมชาติ (5) 12,751
กิจสังคม คำโพธิ์ ทารมย์ (12) 11,543
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) โกศล แวงวรรณ (4)* 11,195
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ฉลาด ขามช่วง (9) 6,605
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิลึก แสงใส (1) 6,069
ไม่สังกัดพรรค สุภาพ ชินคำนนท์ (20) 5,801
ประชาเสรี บุญถม ระกิติ (8) 5,782
ประชากรไทย คำเบา ศรีสุลัย (17) 2,739
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิจิตร พิสพาน (2) 1,415
ไม่สังกัดพรรค บำรุง เวียงสมุทร (10) 1,268
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เพิ่ม ประเสริฐสังข์ (13) 861
พลังใหม่ สดชื่น ฉ่ำมณี (15) 638
ไม่สังกัดพรรค เชื่อม สุทธิประภา (14) 462
ไม่สังกัดพรรค สง่า พลเยี่ยม (21) 313
ประชากรไทย กิตติพงศ์ พลเยี่ยม (18) 254
ไม่สังกัดพรรค ผอง อิ่มเสถียร (19) 177
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเกษตรวิสัย, อำเภอสุวรรณภูมิ, อำเภอจตุรพักตรพิมาน, อำเภอปทุมรัตต์, อำเภอเมืองสรวง และกิ่งอำเภอโพนทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดร้อยเอ็ด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ (2) 40,345
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) เวียง วรเชษฐ์ (3) 33,626
กิจสังคม ถวิล พิมพ์มหินทร์ (5)✔ 26,339
กิจสังคม ไวกูณฐ์ ศิริสังข์ไชย (4)* 22,796
พลังใหม่ ชัชวาลย์ ชมภูแดง (9)✔ 14,425
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) อุดม มณีวรรณ (1) 12,044
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เลอศักดิ์ อรรคฮาด (6) 9,002
ประชากรไทย ประยงค์ ใจเมือง (8) 3,013
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สำราญ แสนสำโรง (7) 2,404
ไม่สังกัดพรรค พันจ่าอากาศเอก สุพรรณ พายุหะ (12) 2,194
พลังใหม่ องอาจ ธรศรี (10) 1,392
ไม่สังกัดพรรค ประยูร เรืองรอง (13) 714
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ประมูล สุวรรณวรพินิจ (11) 602
ไม่สังกัดพรรค ว่าที่ร้อยตรี วรพจน์ แซ่หยง (14) 457
ไม่สังกัดพรรค เสมา บุณยรัตพันธุ์ (15) 414
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526