จังหวัดร้อยเอ็ดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
หน้าตา
![]() | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 258,463 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 50.89% | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดร้อยเอ็ด กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2495 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 4 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้ง
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) | อัมพร สุวรรณบล (5)* | ' | |||
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) | เทพเจริญ พูลลาภ (22) | ' | |||
เสรีมนังคศิลา | ฉันท์ จันทชุม (2)* | ' | |||
ประชาธิปัตย์ | สมพร จุรีมาศ (26) | ' | |||
อิสระ (พ.ศ. 2499) | ชอ สายเชื้อ (1)✔ | ||||
ชาตินิยม (ประเทศไทย) | สุวัฒน์ พูลลาภ (3)✔ | ||||
ชาตินิยม (ประเทศไทย) | อุไร จันทราช (4) | ||||
ประชาธิปัตย์ | อาคม อุ่นสมัย (6) | ||||
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) | สม สท้านอาจ (7) | ||||
อิสระ (พ.ศ. 2499) | บรรเจิด สายเชื้อ (8) | ||||
ธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498) | บุญรักษ์ บุญนาค (9) | ||||
เสรีมนังคศิลา | นิวัฒน์ พูนศรี ศรีสุวรนันท์ (10)* | ||||
เสรีมนังคศิลา | สุกิจ วรรณสุทธิ (11) | ||||
ประชาธิปัตย์ | ปรียา นุกูลการ (12) | ||||
ประชาธิปัตย์ | เริง สิงห์เสนา (13) | ||||
อิสระ (พ.ศ. 2499) | สันติ สอนภักดี (14) | ||||
ประชาธิปัตย์ | บำรุง พรหมชัยนันท์ (15) | ||||
ชาวนา | ร้อยตำรวจโท ถวิล ธนสีลังกูร (16) | ||||
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) | อดุลย์ ภวภูตานนท์ (17) | ||||
ธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498) | สิงห์ ปกาสิทธิ์ (18) | ||||
ธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498) | ทองลิ่ม ทาหะพรหม (19) | ||||
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) | เพชร จันทราช (20) | ||||
ประชาธิปัตย์ | คำอ้าย วงศ์คำจันทร์ (21) | ||||
เสรีมนังคศิลา | จรินทร์ สุวรรณธาดา (23)* | ||||
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) | สอง นิติวัฒนะ (24) | ||||
เสรีมนังคศิลา | ศรีศักดิ์ ลาน้ำเที่ยง (25) | ||||
ประชาธิปัตย์ | อำนวย ศรีสวาสดิ์ (27) | ||||
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) | ร้อยตรี อำพัน หิรัญโชติ (28) | ||||
ชาวนา | ประวัติ สิงห์ธวัช (29) | ||||
ประชาธิปัตย์ | ประพันธ์ กลางท่าไคร่ (30) | ||||
ชาวนา | หนูกัน ไชยคิรินทร์ (31) | ||||
ประชาธิปัตย์ | ปุ่น ไชยหาญ (32) | ||||
ชาตินิยม (ประเทศไทย) | เสนีย์ สุดโสภณาดุลย์ (33) | ||||
ชาตินิยม (ประเทศไทย) | พนม นาควิเวก (34) | ||||
อิสระ (พ.ศ. 2499) | สังวาลย์ สุขุมาลพิทักษ์ (35) | ||||
อิสระ (พ.ศ. 2499) | ประสิทธิ์ น้าวแสง (36) | ||||
เสรีมนังคศิลา | บงการ อุตมะพรหม (37) | ||||
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2499) | ประมูล เสนารา (38) | ||||
ชาตินิยม (ประเทศไทย) | กว้าง สุวภาพ (39) | ||||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค | |||||
เสรีประชาธิปไตย (พ.ศ. 2498) ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค | |||||
เสรีมนังคศิลา ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย เล่ม ๑. กองเลือกตั้ง ส่วนการทะเบียนและเลือกตั้ง กรมมหาดไทย. 2501