จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดยะลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
|
← พ.ศ. 2544 |
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 |
พ.ศ. 2549 (โมฆะ) → |
|
3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 75.87% |
---|
|
First party
|
Second party
|
|
|
|
พรรค
|
ประชาธิปัตย์
|
ไทยรักไทย
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
1
|
0
|
ที่นั่งก่อนหน้า
|
1
|
2
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
3
|
0
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
2
|
2
|
คะแนนเสียง
|
98,248
|
58,917
|
%
|
48.22
|
28.92
|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดยะลา)
[แก้]
พรรค |
คะแนนเสียง
|
จน. |
%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
98,248 |
48.22%
|
|
ไทยรักไทย |
58,917 |
28.92%
|
|
มหาชน |
28,264 |
13.87%
|
|
อื่น ๆ |
18,327 |
8.99%
|
ผลรวม |
203,756 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
ประชาธิปัตย์ |
|
48.22% |
ไทยรักไทย |
|
28.92% |
มหาชน |
|
13.87% |
อื่น ๆ |
|
8.99% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดยะลา)
[แก้]
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
3 |
94,645 |
49.41% |
3 |
2 |
100.00%
|
|
ไทยรักไทย |
3 |
61,812 |
32.27% |
0 |
2 |
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
5 |
35,075 |
18.31% |
0 |
 |
0.00%
|
ผลรวม |
11 |
191,532 |
100.00% |
3 |
 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
ประชาธิปัตย์ |
|
49.41% |
ไทยรักไทย |
|
32.27% |
อื่น ๆ |
|
18.31% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)
[แก้]
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ
[แก้]
ก • ค ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดยะลา
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
ร้อยละ
|
|
ชาติไทย (1)
|
5,564
|
2.73
|
|
กิจสังคม (2)
|
781
|
0.38
|
|
พัฒนาชาติไทย (3)
|
906
|
0.44
|
|
ประชาธิปัตย์ (4)
|
98,248
|
48.22
|
|
ประชาชนไทย (5)
|
699
|
0.34
|
|
คนขอปลดหนี้ (6)
|
1,236
|
0.61
|
|
ธรรมชาติไทย (7)
|
306
|
0.15
|
|
แผ่นดินไทย (8)
|
554
|
0.27
|
|
ไทยรักไทย (9)
|
58,917
|
28.92
|
|
ความหวังใหม่ (10)
|
1,942
|
0.95
|
|
มหาชน (11)
|
28,264
|
13.87
|
|
ประชากรไทย (12)
|
287
|
0.14
|
|
ไทยช่วยไทย (13)
|
372
|
0.18
|
|
แรงงาน (14)
|
2,089
|
1.03
|
|
ชาติประชาธิปไตย (15)
|
1,288
|
0.63
|
|
กสิกรไทย (16)
|
196
|
0.10
|
|
ทางเลือกที่สาม (17)
|
126
|
0.06
|
|
รักษ์ถิ่นไทย (18)
|
186
|
0.09
|
|
พลังเกษตรกร (19)
|
1,360
|
0.67
|
|
พลังประชาชน (20)
|
435
|
0.21
|
|
บัตรดี
|
203,756
|
92.85
|
บัตรเสีย
|
9,722
|
4.43
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
5,975
|
2.72
|
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
219,453
|
75.87
|
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|
289,265
|
100.00
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองยะลา (ยกเว้นตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดยะลา
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ประเสริฐ พงษ์สุวรรณศิริ (4)*
|
33,393
|
52.85
|
|
|
ไทยรักไทย
|
ไพโรจน์ เฉลียวศักดิ์ (9)✔
|
20,336
|
32.19
|
|
|
มหาชน
|
อนันต์ แสงวัณณ์ (11)
|
5,716
|
9.05
|
|
|
ชาติไทย
|
ชาตรี มะลอดอ (1)
|
3,734
|
5.91
|
|
ผลรวม
|
63,179
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
63,179
|
89.96
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
3,038
|
4.33
|
–
|
บัตรเสีย
|
4,015
|
5.72
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
70,232
|
75.05
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
93,578
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกาบัง, อำเภอรามัน, อำเภอยะหา (ยกเว้นตำบลปะแต) และอำเภอเมืองยะลา (เฉพาะตำบลเปาะเส้ง ตำบลบันนังสาเรง และตำบลบุดี)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดยะลา
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
อับดุลการิม เด็งระกีนา (4)
|
23,212
|
37.13
|
|
|
ไทยรักไทย
|
ไพศาล ยิ่งสมาน (9)*
|
20,336
|
32.53
|
|
|
มหาชน
|
นิรันทร์ วายา (11)
|
18,621
|
29.79
|
|
|
ความหวังใหม่
|
สิทธิศักดิ์ มะโรหบุตร (10)
|
345
|
0.55
|
|
ผลรวม
|
62,514
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
62,514
|
84.14
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
3,133
|
4.22
|
–
|
บัตรเสีย
|
8,653
|
11.65
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
74,300
|
76.19
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
97,520
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
|
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเบตง, อำเภอธารโต, อำเภอบันนังสตา, อำเภอกรงปินัง และอำเภอยะหา (เฉพาะตำบลปะแต)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดยะลา
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ณรงค์ ดูดิง (4)
|
38,040
|
57.78
|
|
|
ไทยรักไทย
|
บูราฮานูดิน อุเซ็ง (9)*
|
22,162
|
33.66
|
|
|
มหาชน
|
สอยูวัน อาลีมามะ (11)
|
5,637
|
8.56
|
|
ผลรวม
|
65,839
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
65,839
|
87.67
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
2,486
|
3.31
|
–
|
บัตรเสีย
|
6,771
|
9.02
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
75,096
|
76.50
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
98,167
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
|