ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน496,455
ผู้ใช้สิทธิ65.81%
  First party Second party Third party
 
Montri Phongphanit.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ มนตรี พงษ์พานิช ชวลิต ยงใจยุทธ ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค กิจสังคม ความหวังใหม่ สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 3 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร ชวน หลีกภัย
พรรค เอกภาพ ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ประวัติ ทองสมบูรณ์ (11)✔ 50,725
กิจสังคม อัมพล จันทรเจริญ (10)* 47,291
ความหวังใหม่ กริช กงเพชร (22)✔ 40,306
สามัคคีธรรม พยุง ช่ำชอง (4)* 37,905
กิจสังคม มาโนช เชาวรัตน์ (12)* 35,589
ชาติไทย ประมูล จันทรจำนง (20) 34,643
เอกภาพ สุชาติ ศรีสังข์ (17) 27,752
ประชาธิปัตย์ วิทยา มะเสนา (7) 23,613
ชาติไทย ผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ (19)✔ 22,479
สามัคคีธรรม เกียรติ นาคะพงษ์ (5)✔ 11,968
ประชาธิปัตย์ สุจินต์ ฉัตรานุสรณ์ (9) 10,324
ประชากรไทย ยุทธพล ศรีมุงคุณ (1)✔ 9,958
ความหวังใหม่ พันตำรวจโท บุญจันทร์ ลุนดาพร (23) 7,181
เอกภาพ เลื่อน วรรณเลิศ (16) 4,818
ประชาธิปัตย์ ไถง ปะติเส (8) 4,130
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พูลสวัสดิ์ สุทธิมูลนาม (13) 4,062
ประชากรไทย อภิเดช ไชยเดช (3) 3,667
เอกภาพ ไพรัช ไชยสมคุณ (18) 3,170
สามัคคีธรรม จักรายุทธ ช่ำชอง (6) 2,988
ชาติไทย เฉลิมพล ประภูชะกัง (21) 2,867
ความหวังใหม่ สมพงษ์ สมภูมิ (24) 2,702
ประชากรไทย บุญมี พลลาภ (2) 2,102
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ถนอม รัตนมุลตรี (14) 1,687
รวมพลังใหม่ เทียมสันต์ ภูมาศ (28) 1,612
มวลชน มาณิศ พิมพ์ดี (25) 978
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จรูญ แดนลาดแก้ว (15) 964
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ดิลก บุญเสริม (31)✔ 591
มวลชน บรรลุ ทิพย์วงศา (27) 563
รวมพลังใหม่ สุพจน์ เครือกลัด (29) 388
มวลชน ดิเรก บัวภูมิ (26) 362
เกษตรเสรี ณรงค์ แสนโกษา (37) 326
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ฉลองรัฐ ปะโกสันตัง (32) 294
เกษตรเสรี ชนินทร์ศักดิ์ ประภาษา (39) 274
รวมพลังใหม่ ประพันธ์ศักดิ์ หาญลือ (30) 189
เกษตรเสรี สุนทร กองพลพรหม (38) 146
ราษฎร (พ.ศ. 2529) คำปาน ธีรศาสตรานนท์ (33) 134
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน และกิ่งอำเภอยางสีสุราช

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง (13)✔ 66,791
กิจสังคม ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ (10)* 61,169
กิจสังคม สุชาติ โชคชัยวัฒนากร (11)✔ 51,135
สามัคคีธรรม กุสุมาลวตี ศิริโกมุท (14) 39,669
ความหวังใหม่ สมมาศ เฮงสวัสดิ์ (1)* 36,272
สามัคคีธรรม คำสิงห์ คุ้มโนน้อย (15) 31,431
ประชาธิปัตย์ อำนวย ปะติเส (7)* 31,367
ประชาธิปัตย์ มยุรา อุรเคนทร์ (9) 29,173
ประชาธิปัตย์ สมบัติ พงศ์บุญคุ้มลาภ (8) 25,856
ความหวังใหม่ ถวิล ทองถวิล (2) 21,411
กิจสังคม นิพนธ์ วงศ์พัฒน์ (12) 14,977
ความหวังใหม่ พันตำรวจเอก ช่วงชัย สัจจพงษ์ (3) 11,184
มวลชน บุญคง ดาจันคำ (4) 4,790
มวลชน ภูวดล มุลนี (5) 1,671
เกษตรเสรี ทวนทอง อิสระวงศ์ (31)✔ 1,099
มวลชน อ่อนจันทร์ ทับผา (6) 926
เกษตรเสรี ธวัชชัย แสงอรุณ (32) 902
เอกภาพ วิชัย จันบัวลา (17) 528
เอกภาพ สุรเดช วิชาโท (16) 372
เกษตรเสรี มนตรี วรรณฉวี (33) 332
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประยงค์ จันธิราช (24) 331
เอกภาพ ชาย นาคแย้ม (18) 329
ราษฎร (พ.ศ. 2529) กัมปนาท แสนศักดิ์ (23) 300
ประชากรไทย บุญมี เทียบสี (34) 279
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) มวลมาศ มะเสนา (19) 264
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ธนพล ซามาตย์ (25) 223
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สุมาลี วรรณทอง (20) 185
ประชากรไทย สนั่น มะธิโต (35) 145
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) สุมาลี มะเสนา (21) 137
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ดิสกุล บุญเสริม (22) 136
ประชากรไทย สุพรรณ ทิพวงศา (36) 97
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ผิวพรรณ ศรีธรรมา (27) 91
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บรรเทิง รัตนวงษา (26) 74
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535