ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน352,187
ผู้ใช้สิทธิ64.50%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร พิชัย รัตตกุล
พรรค กิจสังคม ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
ผู้นำ เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พรรค ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอนาดูน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ทวิช กลิ่นประทุม (12)* 61,700
กิจสังคม ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ (7)* 61,698
กิจสังคม ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง (9) 49,333
กิจสังคม สิงห์โต วงศ์บ้านดู่ (8) 33,991
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สมมุติ สัจจพงษ์ (11)✔ 28,123
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ทวนทอง อิสระวงศ์ (4)* 25,288
ไม่สังกัดพรรค คำสิงห์ คุ้มโนน้อย (10) 19,649
ประชาธิปัตย์ หัตถี พงษ์อุดทา (5) 17,430
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ วงษ์พัฒน์ (3) 8,523
ประชาธิปัตย์ ยุทธพล ศรีมุงคุณ (3)✔ 8,176
ประชากรไทย เดช เดชกวินเลิศ (1) 8,074
ประชาเสรี สำราญ ดีจันทร์ (6) 6,373
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) ชนินทร์ศักดิ์ ประภาษา (14) 4,293
สยามประชาธิปไตย สันต์ เพียรอดวงษ์ (21) 4,012
ไม่สังกัดพรรค ประยงค์ ไชยบัง (13) 3,142
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธีระชัย แสนแก้ว (15) 2,882
ประชาเสรี ร้อยตำรวจตรี ประยงค์ จันทศิลป์ (18) 2,750
ประชาเสรี สันทัด ศิลาพัฒน์ (17) 2,210
ไม่สังกัดพรรค สุชาติ ประทุมขำ (19) 1,529
ไม่สังกัดพรรค ประยูร แก้วอามาตย์ (20) 858
ชาติไทย สถิตพงศ์ ศรีสุมาตย์ (16)[a]
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และกิ่งอำเภอแกดำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ กริช กงเพชร (4)✔ 33,514
ชาติไทย ผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ (3)* 31,364
สยามประชาธิปไตย อัมพล จันทรเจริญ (2)* 27,944
กิจสังคม สุจินต์ ฉัตรานุสรณ์ (8) 17,256
ประชาธิปัตย์ บุญถม อุทัยแพน (5) 15,260
กิจสังคม พันตำรวจเอก อุดม อมรไชย (7) 5,498
พลังใหม่ ปฎิวัติ นนทะนำ (1) 4,065
ไม่สังกัดพรรค มาณิศ พิมพ์ดี (6) 1,720
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ถอนการสมัคร

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526