ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดมหาสารคามในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน328,316
ผู้ใช้สิทธิ56.47%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ทวี จุลละทรัพย์
พรรค ชาติไทย กิจสังคม ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 Steady0

  Fourth party Fifth party
 
Seni Pramoj in 1945.jpg
Klaw Norapati.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช แคล้ว นรปติ
พรรค ประชาธิปัตย์ แนวร่วมสังคมนิยม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และกิ่งอำเภอนาดูน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ทวนทอง อิสระวงศ์ (4) 26,489
กิจสังคม สำราญ วงษาจันทร์ (20) 25,677
ชาติไทย สมมุติ สัจจพงษ์ (6) 19,723
พลังใหม่ ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ (10) 18,940
ประชาธิปัตย์ หัด ดาวเรือง (16) 18,207
กิจสังคม วัฒนา อัตถากร (21) 17,642
กิจสังคม อุดมพร ขอเพิ่มกลาง (19)* 15,619
ชาติไทย สถิตย์ ศรีสุมาตย์ (5) 15,277
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) เส่ง ศิริจริยวัฒน์ (2) 15,091
ประชาธิปัตย์ ยุทธพล ศรีมุงคุณ (18)* 14,758
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สวาท ศิริโกมุท (7)* 11,221
ประชาธิปัตย์ อำนาจ อริยะชัยพาณิชย์ (17) 10,577
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมบูรณ์ สุพรรณฝ่าย (9) 8,986
ธรรมสังคม บุญชู ติณรัตน์ (23) 6,737
ธรรมสังคม สงัด ทองไกรรัตน์ (24) 6,472
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สถิตย์ โสภารัตน์ (13) 4,619
พลังใหม่ จำรัส อาระพล (12) 4,283
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สกาว ศิริไปล์ (8) 3,990
แนวร่วมสังคมนิยม ดิลก มะลิมาศ (3)* 3,842
ธรรมาธิปไตย พันโท ผดุงเกียรติ สิทธิด่าง (30) 3,713
แนวร่วมประชาธิปไตย ทองเสาร์ รัตนสงหา (27) 3,657
กรุงสยาม สุนทร มานะกุล (29) 3,479
ธรรมสังคม บัวเรียน สมบูรณ์ (22) 2,689
แรงงาน (ประเทศไทย) วิสิทธิ์ ทองวัฒน์ (1) 2,559
ธรรมาธิปไตย มนตรี วรรณฉวี (35) 2,200
พลังใหม่ ประสาสน์ รัตนะปัญญา (11) 2,067
แนวร่วมสังคมนิยม วิไล รัตนะวงศะวัต (15) 2,055
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) วิรัตน์ วงษาไฮ (26) 1,972
แนวร่วมประชาธิปไตย สง่า อันทอง (28) 1,325
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ประสิทธิ์ พิริยะวิไล (14) 1,302
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) สัญญา ปะสังคะเต (25) 969
ชาตินิยม นพนธ์ วงศ์พัฒน์ (32) 542
สังคมชาตินิยม ประสพชัย วงศ์กาไสย (34) 462
สังคมชาตินิยม ธวัช สุขรัตน์ (33) 423
ธรรมาธิปไตย คูณ ศิริคำเพ็ง (36) 378
ชาตินิยม เกรียงศักดิ์ เกรียงเกตุแก้ว (37) 323
ธรรมาธิปไตย ร้อยโท นพรัตน์ บุลยเลิศ (31)[a]
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก แนวร่วมสังคมนิยม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก แนวร่วมสังคมนิยม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอเชียงยืน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ธรรมสังคม อัมพล จันทรเจริญ (4)* 20,808
ประชาธิปัตย์ กริช กงเพชร (23) 18,227
ธรรมสังคม ผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ (3) 16,952
ชาติไทย สิงห์โต วงศ์บ้านดู่ (14) 6,589
เกษตรสังคม รักษ์ เจียรศิริสมบูรณ์ (2) 6,525
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ดิลก บุญเสริม (9)✔ 6,454
เกษตรสังคม จ่าสิบตำรวจ บุญศรี ศรีหาบัว (1) 5,596
กิจสังคม บุญช่วย อัตถากร (19)✔ 5,475
ประชาธิปัตย์ เปรมชัย พริ้งจุลกะ (22) 5,190
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย บุญถม อุทัยแพน (5) 4,558
สันติชน พยุง ช่ำชอง (24) 3,906
สังคมชาตินิยม อนุช พารานะที (15) 3,437
พลังใหม่ เฉลิม คำผาย (6) 3,437
พลังใหม่ ทองดี นันทะเสน (7) 3,100
สังคมชาตินิยม ไพบูลย์ ตรีไพศาลภักดี (11) 3,039
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) สัมพันธ์ พรรัตน์ (16) 2,818
ไท (พ.ศ. 2517) นิคมรัตน์ เนื่องขันขวา (13) 2,277
กิจสังคม อาภรณ์ รัตนศิลป์ (20) 1,894
ฟื้นฟูชาติไทย วิทยา สร้อยทอง (26) 1,629
พิทักษ์ไทย ศุภชัย โพธิสิงห์ (21) 1,045
ไท (พ.ศ. 2517) สุนารี สันติธรารักษ์ (12) 767
ชาตินิยม บุญเส็ง โคตรโสภา (18) 691
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) อำนวย ศิริมณี (25) 552
ธรรมาธิปไตย คำมาย โยธาธรณ์ (28) 471
แนวร่วมประชาธิปไตย วิรัช จำปามูล (10) 383
ธรรมาธิปไตย อุ้ม ไชยสมคุณ (17) 237
กรุงสยาม ชุ่ม แขวงเมือง (8) 212
แนวร่วมประชาธิปไตย สุริยา สุวรรณเวทิน (27) 210
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ธรรมสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ถอนการสมัคร

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519