ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน296,056
ผู้ใช้สิทธิ38.65%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Prasit Kanchanawat.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์
พรรค กิจสังคม ชาติไทย สังคมชาตินิยม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
โลโก้พรรคไท พ.ศ. 2517.png
Seni Pramoj in 1945.jpg
ผู้นำ แผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
พรรค ไท (พ.ศ. 2517) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ และอำเภอบางกระทุ่ม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สังคมชาตินิยม สุชน ชามพูนท (2)✔ 26,847
ชาติไทย นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี (6)* 24,022
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ พลไวย์ (5) 16,638
ไท (พ.ศ. 2517) อนันต์ ภักดิ์ประไพ (4)* 13,181
กิจสังคม นคร กาสยานนท์ (3) 11,998
ธรรมสังคม คเชนทร์ หวังสุทธิพันธุ์ (10) 3,636
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ปุย อิ้มทับ (7) 2,178
พลังใหม่ วิชิต อัมพรพิสิฎฐ์ (1) 1,774
พลังใหม่ สุธี ชีพธำรง (8) 857
สังคมก้าวหน้า บุญไทย แสนสีหา (9) 743
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สังคมชาตินิยม ได้ที่นั่งจาก ไท (พ.ศ. 2517)
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอวังทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ประเทือง วิจารณ์ปรีชา (5)* 16,512
กิจสังคม โกศล ไกรฤกษ์ (6)✔ 16,182
ประชาธิปัตย์ สุรปาณี ไกรฤกษ์ (8)* 8,561
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) จำนงค์ จันทรา (18) 7,921
ชาติไทย วิเชียร เงินจันทร์ (9) 7,865
ประชาธิปัตย์ บุญยัง สินะสนธิ (7) 7,493
สังคมชาตินิยม จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (13) 6,087
ธรรมสังคม กำเนิด ทองคำพงษ์ (15) 5,280
สังคมชาตินิยม จรัญ อุ่นไพร (11) 3,959
เกษตรสังคม วฤทธิ์ ไกรฤกษ์ (4) 3,910
พิทักษ์ไทย พิเชฐ ทวีสมบัติอารีย์ (12) 3,192
พลังใหม่ ปลั่ง พึ่งอำพล (2) 2,100
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ธวัชชัย แก้วศรี (1) 1,713
พลังเสรี ชลอ อินทร (17) 1,655
ธรรมสังคม จรัญ ปานสมบัติ (10) 1,458
แรงงาน (ประเทศไทย) บำรุง มีคำ (16) 1,403
กรุงสยาม ไพโรจน์ ทองวัฒน์ (14) 1,314
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ทวี ประวิทย์ชาติ (3) 1,148
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519