ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน542,789
ผู้ใช้สิทธิ56.49%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สมัคร สุนทรเวช ชวลิต ยงใจยุทธ ทักษิณ ชินวัตร
พรรค ประชากรไทย ความหวังใหม่ พลังธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี, อำเภอบางกรวย และอำเภอบางใหญ่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ พิมพา จันทร์ประสงค์ (16)* 63,573 37.57
ประชากรไทย ประกอบ สังข์โต (10)* 59,707 35.28
ประชากรไทย สำเร็จ อัจฉริยะประสิทธิ์ (12)* 59,443 35.13
ประชากรไทย ลักษณา เพียรเจริญทรัพย์ (11) 55,277 32.67
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี สุรศักดิ์ สุรฤทธิ์ธำรง (7) 51,734 30.57
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ กรุณา (9) 48,679 28.77
ประชาธิปัตย์ อำนวย หมวดมณี (8) 46,802 27.66
ความหวังใหม่ พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย (17) 35,565 21.02
ความหวังใหม่ กมล บันไดเพชร (18) 18,460 10.91
พลังธรรม มงคล อัศวนิโครธร (4) 14,750 8.71
พลังธรรม ส.สุพรรณ พ่วงรอดพันธุ์ (5) 10,300 6.08
พลังธรรม นิพนธ์ สกุลวีรวรรณ (6) 10,202 6.02
ชาติไทย จักรชัย อุ่นใจ (1) 8,784 5.19
ชาติไทย สุเทพ พิทักษ์เจริญวงศ์ (2) 1,878 1.10
ชาติไทย ร้อยตรี ภักดี เกิดประดิษฐ์ (3) 1,762 1.04
เอกภาพ โชติอนันต์ ศรีวิบูลย์ (13) 1,216 0.71
เอกภาพ บุษรา เกิดแก่น (14) 1,151 0.68
เอกภาพ ณัฐพงศ์ คุ้มมี (15) 1,146 0.67
กิจสังคม คณิตพนธ์ แย้มเพียร (19) 568 0.33
แรงงานไทย ทวีศักดิ์ นิภาวรรณ (24) 299 0.17
แรงงานไทย เดชา สุขใจ (22) 278 0.16
แรงงานไทย เสนาะ คงอิ่ม (23) 232 0.13
กิจสังคม ศุภวุฒิ อยู่วัฒนา (21) 219 0.12
กิจสังคม วิเชฐ แก่นจันทร์ (20) 196 0.11
บัตรดี 169,190 94.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,510 3.09
บัตรเสีย 3,411 1.92
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 178,111 54.18
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 328,751 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอไทรน้อย, อำเภอบางบัวทอง และอำเภอปากเกร็ด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ฉลอง เรี่ยวแรง (9) 48,287 39.91
ประชากรไทย สุชาติ บรรดาศักดิ์ (10) 42,632 35.24
ความหวังใหม่ ถวิล จันทร์ประสงค์ (7)* 38,052 31.45
ความหวังใหม่ อุดมเดช รัตนเสถียร (8)* 37,532 31.02
ประชาธิปัตย์ อริญชัย ภวรัญชนากุล (5) 26,682 22.05
ประชาธิปัตย์ ธงชัย เยาวเรศน์ (6) 25,251 20.87
พลังธรรม มะโน ทองปาน (1) 9,311 7.69
พลังธรรม ชิตธิพงษ์ พลทะกลาง (2) 8,520 7.04
ชาติไทย สุรีรัตน์ นนทโชค (4) 1,361 1.12
ชาติไทย อนันต์ อุ่นใจ (3) 917 0.75
กิจสังคม สันติ พัฒนพันธ์ (11) 303 0.25
กิจสังคม รังษี ทองทิพย์ (12) 221 0.18
แรงงานไทย ประสิทธิ์ สังทอง (14) 175 0.14
แรงงานไทย มนต์ชัย สดแสง (13) 170 0.14
บัตรดี 120,976 94.15
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,898 3.03
บัตรเสีย 3,628 2.82
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 128,502 60.04
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 214,038 100.00
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2024-08-13.