ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน253,474
ผู้ใช้สิทธิ76.63%
  First party Second party Third party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
Tianchai Sirisampan.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ เทียนชัย สิริสัมพันธ์ พิชัย รัตตกุล
พรรค ชาติไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา
พรรค กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลหนองแสง ตำบลอาจสามารถ ตำบลนาราชควาย ตำบลหนองญาติ ตำบลท่าค้อ และตำบลขามเฒ่า), อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอนาหว้า และกิ่งอำเภอโพนสวรรค์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครพนม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พลเอก มานะ รัตนโกเศศ (3) 59,785
ชาติไทย ประสงค์ บูรณ์พงศ์ (5)* 38,093
มวลชน ทนง ศิริปรีชาพงษ์ (1)* 36,817
มวลชน แสวง ธวัชวะชุม (2)✔ 22,236
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มงคล บุพศิริ (4)✔ 17,576
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชวน กิติศรีวรพันธุ์ (7)✔ 1,424
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปริญญา ฉัตรภูติ (12) 892
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) รังษี ชาติประสิทธิ์ (11) 392
ชาติไทย สมจิตร ลอดอุด (6) 338
ประชากรไทย มณฑล บุญเมือง (9) 276
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ธวัช อินทร์อ่อน (8) 226
ประชากรไทย พฤกษ์ สวัสดิวงศ์ชัย (10) 169
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครพนม (เฉพาะตำบลกุรุคุ ตำบลบ้านผึ้ง ตำบลนาทราย ตำบลคำเตย ตำบลดงขวาง และตำบลบ้านกลาง), อำเภอนาแก, อำเภอธาตุพนม, อำเภอปลาปาก และอำเภอเรณูนคร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครพนม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไขแสง สุกใส (7)✔ 39,149
ชาติไทย วีรวร สิทธิธรรม (9)* 35,668
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ไพจิต ศรีวรขาน (14) 19,595
มวลชน กตัญญู อัครฮาด (5)* 17,819
มวลชน บุญศรี พลหนองหลวง (6) 15,438
ประชาธิปัตย์ สมาน พิมพานนท์ (8) 9,632
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จำนงค์ ศรีวรขาน (13)✔ 4,121
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ทรงศักดิ์ โกพลรัตน์ (19) 3,417
ประชากรไทย โกวิท โพธิตะนัง (4) 1,987
สหประชาธิปไตย แพง มงคลเกตุ (1) 1,890
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เสมียน เชื้อวงศ์พรหม (16) 1,869
ชาติไทย จีระศักดิ์ พลสนะ (10)✔ 1,327
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สังวาลย์เพชร ณ นครพนม (12) 1,040
สหประชาธิปไตย ล้อม บุญไตร (2) 986
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประวิทย์ วีรศักดา (15) 969
ประชากรไทย เกษแก้ว โพธิตะนัง (3) 944
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พรศักดิ์ พันธุ์คำ (20) 396
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ละนอง นัพสังข์ (11) 341
รักไทย พยงค์ พงษ์พวงเพชร (17) 323
รักไทย เอี่ยม ศรีระอุดม (18) 228
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530