ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครพนมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 นครพนม
พ.ศ. 2526

มุกดาหาร
พ.ศ. 2526
 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน310,453
ผู้ใช้สิทธิ63.00%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
บุญยง วัฒนพงศ์.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช บุญยง วัฒนพงศ์
พรรค ไม่สังกัดพรรค กิจสังคม ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
ที่นั่งก่อนหน้า 0 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
ทวิช กลิ่นประทุม.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร ทวิช กลิ่นประทุม
พรรค ชาติไทย ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครพนม พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอธาตุพนม, อำเภอนาแก, อำเภอมุกดาหาร, อำเภอดอนตาล, อำเภอคำชะอี, อำเภอปลาปาก, อำเภอเรณูนคร, กิ่งอำเภอนิคมคำสร้อย และกิ่งอำเภอหว้านใหญ่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครพนม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค เฉิดศักดิ์ แสนวิเศษ (8) 24,364 ' '
ไม่สังกัดพรรค วรพจน์ ณ ถลาง (12) 23,492 ' '
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) เฉลียว ดีวงศ์ (7)✔ 22,382
ไม่สังกัดพรรค กตัญญู อัครฮาด (13) 18,080
ไม่สังกัดพรรค แพง มงคลเกตุ (1) 15,217
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) จำนงค์ ศรีวรขาน (9)* 14,565
ไม่สังกัดพรรค นรลักษณ์ จันทรสาขา (11) 13,115
ชาติไทย เรือโท อุทิศ นวลมณี (5) 12,974
กิจสังคม สุรจิตต์ จันทรสาขา (10)* 11,831
ไม่สังกัดพรรค จรูญ มณีพรรณ (4) 11,212
ไม่สังกัดพรรค พูลสวัสดิ์ พุทธศิริ (6) 10,784
ประชาธิปัตย์ ประมูล แสนสุภา (14) 10,672
ไม่สังกัดพรรค พยงค์ พงษ์พวงเพชร (3) 10,556
สนับสนุนนโยบายเกรียงศักดิ์ สิงห์ โพธิไสย (23) 7,534
ประชาธิปัตย์ มนัส รัชโน (15) 6,962
ไม่สังกัดพรรค ปอ ปริปุญโญ (20) 6,844
ประชาธิปไตยแห่งชาติ สุข รอบรู้ (21)✔ 6,214
สังคมประชาธิปไตย ทรง ศรีหาจักร (18) 6,184
กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522) อนุ กาญจนา (2) 6,109
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ สุรพันธ์พิชิต (16) 4,853
สนับสนุนนโยบายเกรียงศักดิ์ ประกริด ศรียะวงษ์ (22) 3,950
สังคมประชาธิปไตย ไพฑูรย์ พลซื่อ (17) 3,411
สังคมประชาธิปไตย อุทัย มหาวงค์ (19) 2,309
ไม่สังกัดพรรค เกษร อมรฤทธิธาดา (26) 429
ชมรมการเมืองพัฒนาประชาไทย ละนอง นัพสังข์ (24) 411
ไม่สังกัดพรรค พรเทพ สุวรรณโพธิ์ศรี (25) 383
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครพนม, อำเภอศรีสงคราม, อำเภอบ้านแพง, อำเภอท่าอุเทน และกิ่งอำเภอนาหว้า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครพนม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค วีรวร สิทธิธรรม (4)* 24,972 ' '
กิจสังคม จีระศักดิ์ พลสนะ (8) 20,261
เกษตรสังคม ชวน กิติศรีวรพันธุ์ (2)✔ 16,605
ไม่สังกัดพรรค มงคล บุพศิริ (1)✔ 15,451
กิจสังคม พงษ์สวัสดิ์ ศรีวรขาน (5) 13,052
ไม่สังกัดพรรค แสวง ธวัชวะชุม (3)* 12,612
ประชาธิปัตย์ สถิตย์ แสนเยีย (7) 8,597
ประชาธิปัตย์ สวาท ทะเสนัย (6) 6,770
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) พิศิษฐ์ นิ่มนคร (9) 6,016
ชาติไทย มาก ไชยยศ (10) 1,733
สังคมประชาธิปไตย บุญชอบ มหาราช (12) 1,732
สังคมประชาธิปไตย นิพนธ์ จันทร์วงศ์ (11) 1,323
ชมรมการเมืองพัฒนาประชาไทย วิเศษ ยศประสงค์ (13) 618
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523