ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดชัยภูมิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชัยภูมิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน575,790
ผู้ใช้สิทธิ66.04%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Somboon rahong.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ สมบุญ ระหงษ์ ชวลิต ยงใจยุทธ
พรรค สามัคคีธรรม ชาติไทย ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ มนตรี พงษ์พานิช
พรรค กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 5
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง5

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชัยภูมิ, อำเภอคอนสวรรค์, อำเภอหนองบัวแดง, อำเภอแก้งคร้อ และกิ่งอำเภอภักดีชุมพล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชัยภูมิ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม สันติ ชัยวิรัตนะ (4)* 82,908
ความหวังใหม่ สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ (1) 75,166
ชาติไทย อร่าม โล่ห์วีระ (7)✔ 65,194
ความหวังใหม่ บุญเกิด หิรัญคำ (2)✔ 48,793
สามัคคีธรรม ชวลิต มหาจันทร์ (5)* 43,929
สามัคคีธรรม พิชิต ชัยวิรัตนะ (6) 40,454
กิจสังคม บัวพรม ธีรกัลยาณพันธุ์ (11)* 28,171
ความหวังใหม่ เจริญ วัชระรังษี (3) 11,969
กิจสังคม ธีรวิทย์ คุณทรัพย์ (10)✔ 7,403
กิจสังคม ศิริพงษ์ ศรีชัยรมย์รัตน์ (12) 1,285
ชาติไทย เกียรติศักดิ์ วงศ์ศรี (8) 1,055
ชาติไทย วีระ ประสานแสง (9) 947
ประชากรไทย พันเอก ช่วง บุญโยธา (13) 888
เกษตรเสรี บุญเหลือ ทองชัยภูมิ (22) 769
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สาคร สมานญาติ (20) 433
เกษตรเสรี บุญเลิศ เจริญชัย (24) 430
มวลชน วัฒนา แสงสุวรรณ (17) 369
เกษตรเสรี แสง งานสำเร็จ (23) 352
มวลชน อมร สมัตชัย (18) 301
ประชากรไทย สมหมาย แจ่มศรี (14) 297
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชูศักดิ์ โม่งปราณีต (21) 269
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มนตรี สมานญาติ (19) 263
ประชากรไทย โอฬาร เฉลิมแสน (15) 227
มวลชน ทองขาว แสงสุวรรณ (16) 202
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอคอนสาร, อำเภอเกษตรสมบูรณ์, อำเภอภูเขียว และอำเภอบ้านแท่น

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชัยภูมิ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ (5)* 39,724
ชาติไทย สีหนาท ฤาชา (1)* 33,910
ชาติไทย เจริญ จรรย์โกมล (2) 28,988
สามัคคีธรรม ประเสริฐ ชัยวิรัตนะ (6) 22,439
ความหวังใหม่ พุธ ประทุมถิ่น (8)✔ 20,062
พลังธรรม เทพกร ปราบพาล (17) 17,352
ความหวังใหม่ ทรงศักดิ์ อุระวัฒนพันธุ์ (7)✔ 10,067
ประชาธิปัตย์ ศาสตร์ หมู่อำพันธ์ (4) 8,987
พลังธรรม สรคมน์ วงศ์พรหม (18) 7,123
ประชาธิปัตย์ เรืออากาศโท พิสิฐ พรหมบัณฑูร (3) 4,110
กิจสังคม อำพล พันธุ์ประสิทธิ์ (9)✔ 2,314
ประชากรไทย บุญพรหม ภิญโญยงค์ (12) 1,460
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประยงค์ คำสะอาด (16) 802
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เสด็จ คำศรี (15) 541
กิจสังคม วัฒนวิทย์ ช่วยชูวงษ์ (10) 407
ประชากรไทย สุเมธ คติธนานันท์ (11) 249
มวลชน สวาท แสงสุวรรณ (14) 238
มวลชน ทองยุ่น ชาติชัย (13) 177
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอจัตุรัส, อำเภอบ้านเขว้า, อำเภอบำเหน็จณรงค์, อำเภอเทพสถิต และอำเภอหนองบัวระเหว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดชัยภูมิ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย (2)* 57,449
สามัคคีธรรม ก่ำซุง ประภากรแก้วรัตน์ (1)* 50,490
ชาติไทย ปาริชาติ ชาลีเครือ (8) 39,271
ชาติไทย นิรัตน์ อยู่ภักดี (7) 36,989
ความหวังใหม่ ทวนทอง พิพิธกุล (3) 3,838
ความหวังใหม่ สมภพ บุญยะรังสรรค์ (4) 1,092
กิจสังคม ยวน แก้วเพชร (6) 749
ประชากรไทย จำเนียร เพชรวิเศษ (9) 719
ประชากรไทย พิสิทธิ์ ชยาภินันท์ (10) 616
กิจสังคม สงัด พรหมปันชมพู (5) 360
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พเยาว์ เอื้อศิริประชา (14) 97
มวลชน จรูญ ผลเต็ม (12) 84
มวลชน สุเดช แฝงเวียง (11) 73
ราษฎร (พ.ศ. 2529) แสวง เอื้อศิริประชา (13) 60
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535