ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน502,177
ผู้ใช้สิทธิ66.52%
  First party Second party Third party
 
Narong Wongwan.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Montri Phongphanit.jpg
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ ชวลิต ยงใจยุทธ มนตรี พงษ์พานิช
พรรค สามัคคีธรรม ความหวังใหม่ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ พรรคใหม่ 5
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น2 ลดลง4

  Fourth party
 
Somboon rahong.jpg
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, อำเภอนามน และอำเภอห้วยผึ้ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ สังข์ทอง ศรีธเรศ (4)* 56,764
สามัคคีธรรม พิชัย มงคลวิรกุล (7)* 54,826
กิจสังคม วิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ (1)* 51,953
ความหวังใหม่ ชิงชัย มงคลธรรม (5)✔ 43,385
ชาติไทย วิฑูรย์ โยธาวงษ์ (10) 39,877
ความหวังใหม่ พาที แดนวงศ์ (6) 35,475
ประชากรไทย สมพูล วรรณทอง (13) 29,002
สามัคคีธรรม ทัศน์ ทิมพิไสย (9) 25,475
สามัคคีธรรม สำราญ ศิริไปล์ (8) 17,253
รวมพลังใหม่ ลิขิต ไชยทองศรี (33) 14,846
รวมพลังใหม่ จำนง อิ้งจะนิล (31) 3,947
กิจสังคม วิชัย คชอาจ (2) 2,991
เกษตรเสรี พิชัย ยันตะบุศย์ (28)✔ 2,676
กิจสังคม ดำรัส หัตถจรวย (3) 2,518
มวลชน ถนัด ดวงสงค์ (16) 1,997
ประชากรไทย ประกอบกิจ สุยังกุล (14) 1,730
ประชากรไทย สุพล เฉิดฉาย (15) 1,443
ชาติไทย วิชชุกร สงวนชาติ (11) 1,357
รวมพลังใหม่ สุรเดช เคราะห์ดี (32) 931
ชาติไทย วิมาลย์ ทิพอาศน์ (12) 797
มวลชน สิบเอก ชัยรัตน์ ทิพเลิศ (17) 518
เกษตรเสรี จิราพร ยันตะบุศย์ (30) 498
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ณรงค์ ภูสมนึก (23) 443
มวลชน จันทร์ สุวรรณมิตร (18) 436
เกษตรเสรี มนูญ มงคลศิริ (29) 381
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมาน ปรีประดิษฐ์ (20) 251
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ประจักษ์ ภูมิเหล่าม่วง (24) 222
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ศรศิลป์ ไชยทองยศ (19) 207
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อดุลย์ นะระแสน (21) 187
สหประชาธิปไตย พึงพิศ กรรณสูต (27) 184
สหประชาธิปไตย อิ่มจันทร์ เอราวัณ (26) 181
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) คำพันธ์ บุญยอ (22) 176
สหประชาธิปไตย พวงทอง กรรณสูต (25) 160
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกมลาไสย, อำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง, อำเภอหนองกุงศรี และกิ่งอำเภอร่องคำ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ บวร ภูจริต (6)* 77,022
สามัคคีธรรม อภิชาติ หาลำเจียก (9)* 76,828
สามัคคีธรรม ใหม่ ศิรินวกุล (7)* 60,516
ความหวังใหม่ ขุนทอง ภูผิวเดือน (4)✔ 59,275
สามัคคีธรรม ทองพูน ภูนิลวาลย์ (8) 43,511
กิจสังคม สีน้ำ จันทร์เพ็ญ (15) 28,627
ความหวังใหม่ ไพโรจน์ ศาสตราวาหะ (5)✔ 28,162
กิจสังคม เดช ปรีดี (13) 24,222
กิจสังคม กมล จรูญเพ็ญ (14) 12,768
ชาติไทย สนอง บุญไชย (10) 8,546
ชาติไทย อำนวย อุเทศ (12) 4,602
ประชากรไทย ผ่าน จันโทศรี (16) 3,091
ประชากรไทย ชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง (17)✔ 2,470
เอกภาพ ทรงวุฒิ สุริยสิริกุล (1) 2,418
ชาติไทย บุญเหลือ ภูบัวดวง (11) 2,198
มวลชน ทองเส็ง ภูวิชัย (19)✔ 2,080
เอกภาพ สุนทร ภูพันนา (3) 2,014
ประชากรไทย ทองคำ ม่วงศรี (18) 1,974
เอกภาพ ประวัติ ภูลายยาว (2) 1,568
มวลชน จงกล ภูสดศรี (20) 597
มวลชน ปฎิวัติ ภูวิชัย (21) 476
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จตุพร บุญเสริม (25) 378
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) วิชัย ภูสมนึก (24) 322
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) เกียรติศักดิ์ สินธุศิริ (23) 316
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เสาร์ ไสยวิจีณ (26) 262
สหประชาธิปไตย วิชชุดา จำปาชัย (32) 221
สหประชาธิปไตย นิราพร ธงสันเทียะ (33) 217
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุคนธ์ ร่มแก้ว (28) 216
ท้องถิ่นก้าวหน้า (พ.ศ. 2535) ประดิษฐ์ เทวเส (22) 207
สหประชาธิปไตย กรสุรางค์ สงวนสุข (31) 207
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิทยา สมสวย (27) 185
เกษตรเสรี ศรีสมบูรณ์ ฆารสะอาด (37) 183
เกษตรเสรี ปริญญา เวียงกมล (39) 174
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ดารุณี ตรีธวัช (29) 155
เกษตรเสรี สมสี โพธิ์ศรีราช (38) 146
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สินทร มานะกุล (30) 123
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535