ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาฬสินธุ์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน370,130
ผู้ใช้สิทธิ78.87%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
Kriangsak Chomanan 1976.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา พิชัย รัตตกุล เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
พรรค กิจสังคม ประชาธิปัตย์ ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาฬสินธุ์, อำเภอกมลาไสย, อำเภอสมเด็จ, อำเภอกุฉินารายณ์, อำเภอเขาวง, กิ่งอำเภอร่องคำ, กิ่งอำเภอนามน และกิ่งอำเภอห้วยผึ้ง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม สังข์ทอง ศรีธเรศ (8)* 57,540
กิจสังคม วิวัฒนไชย ณ กาฬสินธุ์ (9)* 55,070
ประชาธิปัตย์ พิชัย มงคลวิรกุล (2) 51,274
ชาติไทย พลตำรวจโท รุจ การธราชว์ (16) 37,928
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ชิงชัย มงคลธรรม (13)✔ 36,303
กิจสังคม พิชญ์ แดนวงศ์ (7)✔ 35,519
ประชาธิปัตย์ พวงเพชร ศรีทอง (1)* 34,341
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) นิวัทธ์ แจ้งสุข (15) 33,239
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) จำนง อิ้งจะนิล (14) 13,555
ประชาธิปัตย์ ไพโรจน์ ศาสตราวาหะ (3)✔ 13,178
กิจประชาคม อาคม อุทโท (21) 10,866
ประชากรไทย บัณฑิต บุญแสน (12) 8,760
แรงงานประชาธิปไตย พินิจ อัฐนาค (25) 7,664
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุดารัตน์ เพชรบรม (24) 7,008
ราษฎร (พ.ศ. 2529) พิชัย ยันตะบุศย์ (23)✔ 6,239
สหประชาธิปไตย ศิริ พลอยดี (32) 6,086
พลังใหม่ บุญล้วน เขจรศาสตร์ (34) 3,720
ประชากรไทย สละ วรสาร (11) 3,449
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมศักดิ์ สาริกะภูติ (22) 3,406
ประชากรไทย ประชุม อินทรตุล (10) 3,142
กิจประชาคม ชาญยุทธ ไชยคำมิ่ง (20)✔ 2,987
ชาติไทย วุฒิศักดิ์ ฉายดิลก (17) 2,939
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) แสนยากร พิมพ์พิสัย (28) 2,433
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เทพ เยาวะนิจ (6) 1,993
กิจประชาคม วิวิช พิมะนิตย์ (19) 1,881
ชาติไทย สุรชัย ประนมศรี (18) 1,650
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) สกล กฤษณะสุคนธ์ (29) 1,629
รักไทย มัชฌิมพงษ์ มัชฌิโม (37) 1,543
สหประชาธิปไตย ทองเส็ง ภูวิชัย (31)✔ 1,140
พลังใหม่ สิบเอก แสนพัน ชิณศิริ (36) 1,079
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) โกศล นครชัย (30) 968
แรงงานประชาธิปไตย อรุณ พิมพะสอน (26) 874
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ทองคำ บาดาล (5)✔ 835
รักไทย ไพบูลย์ บุญแสน (38) 781
พลังใหม่ เฉลิมชัย พลขยัน (35) 685
รักไทย นิยม ครองยุติ (39) 574
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ถาวร คะโยธา (4)✔ 551
แรงงานประชาธิปไตย ประจวบ ทองศิริ (27) 447
สหประชาธิปไตย บุญจันทร์ เป็นมงคล (33) 277
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอยางตลาด, อำเภอท่าคันโท, อำเภอสหัสขันธ์, อำเภอห้วยเม็ก, อำเภอคำม่วง และอำเภอหนองกุงศรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาฬสินธุ์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ใหม่ ศิรินวกุล (3)* 50,297
ประชาธิปัตย์ วิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง (10) 34,394
ประชาธิปัตย์ ขุนทอง ภูผิวเดือน (9)* 34,335
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) บวร ภูจริต (11) 15,185
กิจสังคม วิทยา สาชะรุง (4) 14,917
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สีน้ำ จันทร์เพ็ญ (8) 14,265
ชาติไทย พันตำรวจเอก (พิเศษ) ปราโมทย์ กุลนิติ (19) 7,130
สหประชาธิปไตย พันตำรวจโท สมชัย สุริยะศรี (17) 6,820
ชาติประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) คม ภูกงลี (12) 6,814
กิจประชาคม สุทัศน์ พรหมรัตน์ (2) 6,767
ชาติไทย ประยงค์ สายวงศ์ (20) 3,521
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สามารถ พันธุ์กาฬสินธุ์ (13) 2,901
ประชากรไทย ปรเมษฐ์ จันโทศรี (6) 2,364
กิจประชาคม นิรภัย ธนสีลังกูร (1) 1,993
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประยูร ภูมิชูชิต (7) 1,588
ประชากรไทย วันชัย อินทรตุล (5) 1,508
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) นิยม ภูถมดี (14) 560
สหประชาธิปไตย สุคนธ์ ร่มแก้ว (18) 554
พลังใหม่ วิโรจน์ ศรีรัตนธรรม (16) 457
พลังใหม่ สุวรรณ สุจิบาล (15) 138
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530