จอห์น บารีลาโร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จอห์น บารีลาโร
บารีลาโรเมื่อปี 2016
รองรัฐมนตรีรัฐนิวเซาธ์เวลส์ 18th
ดำรงตำแหน่ง
15 พฤศจิกายน 2016 – 6 ตุลาคม 2021
หัวหน้ารัฐบาลไมก์ บายรด์
แกลดีส เบเรจีเคีลยน
ดอมินิก เพรอทเทต
ก่อนหน้าทรอย กรานท์
ถัดไปกพอล ทูลลี
ผู้นำพรรคแห่งชาติ นิวเซาธ์เวลส์
ดำรงตำแหน่ง
15 พฤศจิกายน 2016 – 6 ตุลาคม 2021
หัวหน้ารัฐบาลMike Baird
Gladys Berejiklian
Dominic Perrottet
รองNiall Blair
Paul Toole
ก่อนหน้าทรอย กรานท์
ถัดไปPaul Toole
Ministerial positions
Minister for Regional New South Wales, Industry and Trade
ดำรงตำแหน่ง
2 เมษายน 2019 – 4 ตุลาคม 2021
หัวหน้ารัฐบาลGladys Berejiklian
ก่อนหน้าตนเอง (ในฐานะรัฐมนตรีส่วนภูมิภาคนิวเซาธ์เวลส์)
Niall Blair (ในฐานะรัฐมนตรีพาณิชย์และอุตสาหกรรม)
ถัดไป
รัฐมนตรีการพัฒนาส่วนภูมิภาค /
รัฐมนตรีส่วนภูมิภาค
ดำรงตำแหน่ง
2 เมษายน 2015 – 23 มีนาคม 2019
หัวหน้ารัฐบาลMike Baird
Gladys Berejiklian
ก่อนหน้าTroy Grant (ในฐานะรัฐมนตรีกิจการสาธารณูปโภคและบริการส่วนภูมิภาค)
ถัดไปตนเอง (ในฐานะรัฐมนตรีส่วนภูมิภาค การพาณิชย์ และอุตสาหกรรม)
รัฐมนตรีธุรกิจรายย่อย
ดำรงตำแหน่ง
17 ตุลาคม 2014 – 23 มีนาคม 2019
หัวหน้ารัฐบาลMike Baird
Gladys Berejiklian
ก่อนหน้าแอนดรูว์ สโตนเนอร์
ถัดไปDamien Tudehope (ในฐานะรัฐมนตรีพาณิชย์และธุรกิจราย่อย)
รัฐมนตรีแรงงานฝีมือ
ดำรงตำแหน่ง
2 เมษายน 2015 – 23 มีนาคม 2019
หัวหน้ารัฐบาลMike Baird
Gladys Berejiklian
ก่อนหน้าVerity Firth (ในฐานะรัฐมนตรีการศึกษาและฝึกอบรม)
ถัดไปGeoff Lee (ในฐานะรัฐมนตรีแรงงานฝีมือและอุดมศึกษา)
รัฐมนตรีการท่องเที่ยวส่วนภูมิภาค
ดำรงตำแหน่ง
17 ตุลาคม 2014 – 2 เมษายน 2015
หัวหน้ารัฐบาลMike Baird
ก่อนหน้าแคทรีนา ฮอดจคินสัน
ถัดไปStuart Ayres (ในฐานะรัฐมนตรีการค้า การท่องเที่ยว และกิจกรรมสำคัญ)
Member of the นิวเซาธ์เวลส์ Parliament
for โมนาโร
ดำรงตำแหน่ง
26 มีนาคม 2011 – 31 ธันวาคม 2021
ก่อนหน้าสตีฟ วาน
ถัดไปนิโคล โอเวอรอล
คะแนนเสียง11.61% (2019)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
Giovanni Domenic Barilaro

(1971-11-14) 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971 (52 ปี)
Queanbeyan รัฐนิวเซาธ์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย
เชื้อชาติออสเตรเลีย
พรรคการเมืองพรรคแห่งชาติ
คู่สมรสDeanna Barilaro (c. 1995–2021)
บุตร3 (ญ)
ที่อยู่อาศัยแม่แบบ:NSWcity รัฐนิวเซาธ์เวลส์
อาชีพนักการเมือง (อดีต), นักธุรกิจ

โจฟานนี ดอเมนนิก "จอห์น" บารีลาโร (อังกฤษ: Giovanni Domenic "John" Barilaro; เกิด 14 พฤศจิกายน 1971[1]) เป็นอดีตนักการเมืองชาวออสเตรเลีย ผู้ดำรงตำแหน่งรองรัฐมนตรีรัฐนิวเซาธ์เวลส์คนที่ 18 และผู้นำส่วนภูมิภาคนิวเซาธ์เวลส์ของพรรคแห่งชาติออสเตรเลีย จากปี 2016 ถึง 2021 เขาเป็นรัฐมนตรีส่วนภูมิภาคนิวเซาธ์เวลส์, การค้า และอุตสาหกรรม ในคณะรัฐมนตรีของเบเรยิเกลียนตั้งแต่เดือนเมษายน 2019[2][3][4] และเป็นสมาชิกของสภานิติบัญญัติรัฐนิวเซาธ์เวลส์ในฐานะผู้แทนเขตเลือกตั้งโมนาโร นับตั้งแต่ปี 2011 กระทั่งลาออกจากตำแหน่งในเดือนตุลาคม 2021[5] เขาลาออกโดยอ้างว่า "เป็นเวลาที่เหมาะสมที่ข้าพเจ้าจะส่งต่อบังเหียนนี้"[6]

บารีลาโรยังเป็นที่รู้จักจากกรณีข้อฟ้องร้อง บารีลาโร กับ แชงส์-มาร์กอวีนา ที่ซึ่งเขากล่าวหาว่ายูทูบเบอร์ จอร์แดน แชงส์ (Jordan Shanks) โดยช่องยูทูบของแชงส์ friendlyjordies ทำการหมิ่นประมาทเขา และต่อกูเกิลในฐานะผู้เผยแพร่วิดีโอเหล่านั้น[7] รวมถึงยังส่งต่อแชงส์และผู้ผลิตของแชงส์ให้อยู่ภายใต้การตรวจตราของตำรวจนิวเซาธ์เวลส์ หน่วยบันทึกบุคคล (NSW Police Fixated Persons Unit), ทำให้ผู้ผลิตของช่องของแชงส์ คริสโต แลงเคอร์ (Kristo Langker) ถูกจับกุมโดยตำรวจหน่วยต้านการก่อการร้าย ด้วยฐานความผิดสะกดรอยตามบุคคล ข้อกล่าวหานี้ถูกถอนในเดือนมีนาคม 2022 ทั้งหมดนี้เริ่มต้นจากการที่แชงส์เริ่มทำวิดีโอวิจารณ์บารีลาโรว่ามีส่วนในการฤดูเพลิงไหม้ใหญ่พงหญ้าในปี 2019–20 และกล่าวหาว่าเขามีส่วนในการฉ้อโกง บารีลาโรได้ออกมาแสดงความคิดเห็นอย่างเปิดเผยว่าเขาไม่พอใจต่อการล้อเลียนของแชงส์ ซึ่งเรียกบารีลาโรเทียบกับตัวละครมารีโอ จากแฟรนชายส์วิดีโอเกม ซูเปอร์มารีโอ รวมถึงที่ล้อเลียนเขาว่า "ทำงานได้เพราะสปาเก็ตตี" (powered by spaghetti)[8] ซึ่งเป็นการอ้างถึงกรรีที่บารีลาโรชนะในการแข่งกินสปาเก็ตตีประจำปีของเทือง Queanbeyan หลายต่อหลายครั้ง[9][10] บารีลาโรอ้างว่าแชงส์ "มีเจตนาแอบแฝงที่เหยียดเชื้อชาติ" (racist undertones)[11]

หลังออกจากวงการการเมือง เขาพยายามจะเริ่มต้นอาชีพใหม่ในฐานะผู้แทนหอการค้านิวเซาธ์เวลส์ไปยังสหรัฐ (New South Wales trade commissioner to the United States) ซึ่งนำไปสู่เรื่องอื้อฉาวทางการเมืองของรัฐมนตรีรัฐ ดอมินิก เปรอทเทต ท้ายที่สุดกรณีอื้อฉาวที่ตามมาซึ่งรวมถึงการฉ้อโกงในรัฐบาลของนิวเซาธ์เวลส์ นำไปสู่การตรวจสอบโดยคณะกรรมการอิสระเพื่อต้านโกงของรัฐ และเป็นผลให้สตรวท อายรีส ลาออกจากการเป็นรัฐมนตรีจากส่วนร่วมในเรื่องอื้ฉาวนี้[12][13] นอกจากนี้ เขายังเคยทำร้ายร่างกายช่างภาพของสำนักข่าวหนึ่งในปี 2022 แต่ในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 เขาได้รับการติดสินพ้นผิดเนื่องจากปัญหาสุขภาพจิต

อ้างอิง[แก้]

  1. Le Lievre, Kimberley (15 November 2016). "The Queanbeyan factory that produced a Nationals leader". Canberra Times.
  2. แม่แบบ:Gazette NSW
  3. "Premier announces new Cabinet" (Press release). Premier of New South Wales. 31 March 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-10. สืบค้นเมื่อ 3 April 2019.
  4. Han, Sophie (2 April 2019). "Berejiklian's new massive cabinet sworn in amid peals of laughter". The Sydney Morning Herald. สืบค้นเมื่อ 3 April 2019.
  5. แม่แบบ:Cite NSW Parliament
  6. Tsikas, Mick (2021-10-03). "John Barilaro resigns as NSW Deputy Premier, will also leave Parliament". ABC News (ภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย). AAP. สืบค้นเมื่อ 2021-10-03.
  7. Bavas, Josh (28 May 2021). "NSW Deputy Premier John Barilaro sues YouTube comedian Friendlyjordies and Google for defamation". ABC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 June 2021. สืบค้นเมื่อ 5 June 2021.
  8. "NSW Deputy Premier threatens to sue YouTuber over allegedly racist, defamatory videos". www.9news.com.au. สืบค้นเมื่อ 2 October 2021.
  9. "The Italian job: Barilaro bowled over in spaghetti race". The Queanbeyan Age Chronicle. 22 November 2013. สืบค้นเมื่อ 6 October 2021.
  10. bruz (first disputed video)
  11. "YouTuber Friendlyjordies lashed for 'racist' depiction of NSW Premier Gladys Berejiklian and deputy John Barilaro". News.com.au. 21 June 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2021.
  12. "'I'm off to New York': John Barilaro allegedly told staffer he would have trade role made for him, inquiry hears".
  13. "John Barilaro's New York trade job may be completely above board, but it needs scrutiny | Anthony Whealy". TheGuardian.com. 24 June 2022.