จริยธรรมแพทย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก จรรยาบรรณแพทย์-พยาบาล)
แนวปฏิบัติจริยธรรมแพทย์ของเอเอ็มเอ

จริยธรรมแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งวิเคราะห์เกี่ยวกับการปฏิบัติทางคลินิกและการทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้อง คุณค่าในจริยธรรมแพทย์ประกอบด้วยความเคารพในเจตจำนงบุคคล (autonomy), การไม่กระทำอันตราย (non-maleficence), การทำในสิ่งที่เป็นคุณ (beneficence) และ ความยุติธรรม (justice)[1] จริยธรรมแพทย์มีส่วนในการวางแผนดำเนินงานทางการรักษาและบริการสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์ เช่นแพทย์และพยาบาล[2] โดยหลักการสี่ข้อนี้ไม่ได้มีข้อใดที่สูงหรือสำคัญกว่าข้อใด ทั้งหมดล้วนสำคัญและจำเป็นในฐานะหลักกลางของจริยธรรมแพทย์[3] เพราะฉะนั้น ความย้อนแย้งในทางจริยธรรมจึงเกิดขึ้นเมื่อมีความจำเป็นต้องจัดเรียงความสำคัญระหว่างหลักจริยธรรมสี่ข้อ เพื่อประกอบการตัดสินใจให้ได้ผลทางจริยธรรมากที่สุด[4]

ในทางการแพทย์สากลมีหลักของจริยธรรมแพทย์ที่ยอมรับอยู่หลายชุด หลักชิ้นสำคัญปรากฏในบทสาบานตนของฮิปโปคราตีส ซึ่งพูดคุยเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของการปฏิบัติวิชาชีพแพทย์[4] คำสาบานตนนี้มีอายุราว 500 ปีก่อนคริสตกาล[5] ส่วนปฏิญญาเฮลซิงกิ (1964) และ ประมวลเนือร์นแบร์ก (1947) เป็นเอกสารว่าด้วยจริยธรรมแพทย์ชิ้นสำคัญสองชิ้น

อ้างอิง[แก้]

  1. Beauchamp, J. (2013). "Principles of Biomedical Ethics". Principles of Biomedical Ethics. 7.
  2. Weise, Mary (2016). "Medical Ethics Made Easy". Professional Case Management. 21 (2): 88–94. doi:10.1097/ncm.0000000000000151. PMID 26844716. S2CID 20134799.
  3. "Bioethic Tools: Principles of Bioethics". depts.washington.edu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-03-21.
  4. 4.0 4.1 Berdine, Gilbert (2015-01-10). "The Hippocratic Oath and Principles of Medical Ethics". The Southwest Respiratory and Critical Care Chronicles (ภาษาอังกฤษ). 3 (9): 28–32–32. doi:10.12746/swrccc.v3i9.185. ISSN 2325-9205.
  5. Riddick, Frank (Spring 2003). "The Code of Medical Ethics of the American Medical Association". The Ochsner Journal. 5 (2): 6–10. PMC 3399321. PMID 22826677.

บรรณานุกรม[แก้]

  • Beauchamp, Tom L., and Childress, James F. 2001. Principles of Biomedical Ethics. New York: Oxford University Press.
  • Bioethics introduction ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร 2007-07-03)
  • Brody, Baruch A. 1988. Life and Death Decision Making. New York: Oxford University Press.
  • Curran, Charles E. "The Catholic Moral Tradition in Bioethics" in Walter and Klein (below).
  • Epstein, Steven (2009). Inclusion: The Politics of Difference in Medical Research. University of Chicago Press. ISBN 978-0-226-21310-1.
  • Fletcher, Joseph Francis (1954). Morals and Medicine: The Moral Problems of: The Patient's Right to Know the Truth, Contraception, Artificial Insemination, Sterilization, Euthanasia. Boston: Beacon.
  • Hastings Center (1984). The Hastings Center's Bibliography of Ethics, Biomedicine, and Professional Responsibility. OCLC 10727310.
  • Kelly, David (1979). The Emergence of Roman Catholic Medical Ethics in North America. New York: The Edwin Mellen Press. See especially chapter 1, "Historical background to the discipline."
  • Sherwin, Susan (1992). No Longer Patient: Feminist Ethics and Health Care. Philadelphia: Temple University Press. OCLC 23654449.
  • Veatch, Robert M. (1988). A Theory of Medical Ethics. New York: Basic Books. OCLC 7739374.
  • Walter, Jennifer; Eran P. Klein, บ.ก. (2003). The story of bioethics: from seminal works to contemporary explorations. Georgetown University Press. OCLC 51810892.
  • Tauber, Alfred I. (1999). "Confessions of a Medicine Man". Cambridge: MIT Press. OCLC 42328600. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • Tauber, Alfred I. (2005). "Patient autonomy and the ethics of responsibility". Cambridge: MIT Press. OCLC 59003635. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  • «Législation, éthique et déontologie», Bruxelles: Editions de Boeck Université, 2011, Karine BREHAUX, ISBN 978-2-84371-558-7

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]