คุยเรื่องสถานีย่อย:ดนตรี

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โดนดอง[แก้]

รู้สึกว่าสถานีนี้ก็เหมือนกับอีกหลายสถานีที่ถูกดองข้ามปี ชาววิกิยังให้ความสำคัญกับสถานีนี้อยู่มั๊ยครับ

--เจ้าสำนักวัดสิ้นศรัทธาธรรม 16:59, 24 พฤษภาคม 2552 (ICT)

cc BY-sm[แก้]

เปิดเมนูหลัก วิกิพีเดีย ค้นหา สัทอักษรสากล ภาษาอื่น แก้ไข เว็บย่อ: IPA สำหรับความหมายอื่น ดูที่ IPA (แก้ความกำกวม) สัทอักษรสากล (อังกฤษ: International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมัน สัญลักษณ์บางตัวนำมาจากอักษรกรีก และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ ภาษาไทย

สัทอักษรสากล

"IPA" ใน IPA ([aɪ pʰiː eɪ]) ชนิด บางส่วนเป็นลักษณะเฉพาะอักษร ภาษาพูด ใช้เป็นสัทศาสตร์และหน่วยเสียงของแต่ละภาษา ช่วงยุค ตั้งแต่ ค.ศ.1888 ระบบแม่ Palaeotype alphabet, English Phonotypic Alphabet Romic alphabet สัทอักษรสากล ISO 15924 Latn บทความนี้มีสัทศาสตร์ สัญลักษณ์ หากไม่มีการสนับสนุนเรนเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่องหรือสัญลักษณ์อื่นแทนสัทศาสตร์ สัญลักษณ์

ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2020 ประวัติ แก้ไข สัทอักษรสากลเมื่อเริ่มแรกพัฒนาขึ้นโดยคณะของครูสอนภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งนำโดย พอล แพสซี พร้อม ๆ กับการก่อตั้งสมาคมสัทศาสตร์สากลขึ้นในกรุงปารีสเมื่อ ค.ศ. 1886 (ทั้งสมาคมและสัทอักษรสากลใช้คำย่อในภาษาอังกฤษว่า IPA เหมือนกัน) สัทอักษรสากลรุ่นแรกอย่างเป็นทางการได้รับการตีพิมพ์ใน Passy (1888) โดยคณะผู้พัฒนาใช้อักษรโรมิก (Romic alphabet) ของ เฮนรี สวีต (Sweet 1880-1881, 1971) เป็นพื้นฐาน ซึ่งอักษรโรมิกนั้นก็นำรูปแบบมาจากอักษรฟอนอไทปิก (Phonotypic Alphabet) ของ ไอแซก พิตแมน และ แอลิกแซนเดอร์ จอห์น เอลลิส อีกทีหนึ่ง (Kelly 1981)

หลังจากนั้น สัทอักษรสากลได้ผ่านการชำระปรับปรุงอีกหลายครั้ง โดยครั้งที่สำคัญที่สุดครั้งหนึ่งมีขึ้นในการประชุมของสมาคมฯ ที่คีลเมื่อ ค.ศ. 1989 การชำระครั้งล่าสุดมีขึ้นใน ค.ศ. 1993 และมีการปรับปรุงอีกครั้งใน ค.ศ. 1996

รายละเอียด แก้ไข ในชุดสัทอักษรสากล ส่วนใหญ่ของสัญลักษณ์แทนหน่วยเสียงพยัญชนะที่มีรูปร่างเหมือนกับพยัญชนะในอักษรละตินนั้น จะมีค่าของเสียง (sound-value) สัมพันธ์กับเสียงของพยัญชนะเดียวกันในภาษายุโรปส่วนใหญ่ รวมทั้งภาษาอังกฤษด้วย สัญลักษณ์ในประเภทนี้ประกอบด้วย [p], [b], [t], [d], [k], [g], [m], [n], [f], [v], [s], [h], [z], [l] และ [w]

สัญลักษณ์แทนหน่วยเสียงสระที่มีรูปร่างเหมือนกับสระในอักษรละติน ซึ่งได้แก่ [a], [e], [i], [o], [u] จะมีค่าของเสียงสัมพันธ์กับสระเดียวกันในภาษาเยอรมัน สเปน หรืออิตาลี โดยประมาณ หรืออาจเทียบกับเสียงสระในภาษาไทยได้เป็น อะ, เอะ, อิ, โอะ และ อุ ตามลำดับ

สัญลักษณ์อื่น ๆ ที่เหลือในส่วนที่นำมาจากอักษรละตินนั้น เช่น [j], [r], [c] และ [y] จะสัมพันธ์กับเสียงของตัวอักษรเดียวกันในภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ เช่น [j] มีค่าของเสียงเหมือนกับ j ในภาษาเยอรมัน สแกนดิเนเวีย หรือดัตช์ หรืออาจเทียบได้กับเสียง ย ในภาษาไทย เป็นต้น ข้อสำคัญของหลักเกณฑ์การกำหนดใช้สัทอักษรสากลคือ ใช้สัญลักษณ์เพียงตัวเดียวสำหรับหน่วยเสียงแต่ละหน่วย โดยหลีกเลี่ยงการประสมอักษรอย่างเช่น sh และ th ในการเขียนภาษาอังกฤษ

อักษรหลายตัวมาจากอักษรกรีก แต่ส่วนมากจะถูกดัดแปลง ได้แก่ ⟨ɑ⟩, ⟨ꞵ⟩, ⟨ɣ⟩, ⟨ɛ⟩, ⟨ɸ⟩, ⟨ꭓ⟩, และ ⟨ʋ⟩ ซึ่งอยู่ในยูนิโคดแยกต่างหาก ยกเว้น ⟨θ⟩

อักษรที่มีตะขอด้านขวา ⟨ʈ ɖ ɳ ɽ ʂ ʐ ɻ ɭ⟩ บอกถึงปลายลิ้นม้วน มาจากตัว r

แผนภูมิสัทอักษรสากล แก้ไข บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลปรากฏอยู่ คุณอาจต้องการไทป์เฟซที่รองรับยูนิโคดเพื่อการแสดงผลที่สมบูรณ์ พยัญชนะ (ใช้ลมปอด) แก้ไข ตำแหน่งเกิดเสียง → ริมฝีปาก ลิ้นส่วนหน้า ลิ้นส่วนหลัง โคนลิ้น (ไม่มี) ลักษณะการออกเสียง ↓ ริมฝีปาก ริมฝีปากกับฟัน ฟัน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก ปลายลิ้นม้วน เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ ช่องคอ ลิ้นปิดกล่องเสียง เส้นเสียง นาสิก m ɱ n ɳ ɲ ŋ ɴ ระเบิด p b p̪ b̪ t d ʈ ɖ c ɟ k ɡ q ɢ ʡ ʔ เสียดแทรก ɸ β f v θ ð s z ʃ ʒ ʂ ʐ ç ʝ x ɣ χ ʁ ħ ʕ ʜ ʢ h ɦ เปิด β̞ ʋ ɹ ɻ j ɰ รัว ʙ r * ʀ * ลิ้นกระทบหรือลิ้นสะบัด ̟ (ѵ̟)  (ѵ) ɾ ɽ * เสียดแทรกข้างลิ้น ɬ ɮ * * * เปิดข้างลิ้น l ɭ ʎ ʟ สะบัดข้างลิ้น ɺ * * * ในแถวที่มีสัญลักษณ์ปรากฏคู่กัน (อ็อบสตรูอันต์) ตัวซ้ายมือจะแทนเสียงอโฆษะหรือเสียงไม่ก้อง และตัวขวามือจะแทนเสียงโฆษะหรือเสียงก้อง (ยกเว้น [ɦ] ซึ่งเป็นเสียงพูดลมแทรก) อย่างไรก็ตาม เสียง [ʔ] ไม่สามารถก้องได้ และการออกเสียง [ʡ] ยังกำกวม ส่วนในแถวอื่น ๆ (ซอนอรันต์) สัญลักษณ์ที่อยู่เดี่ยว ๆ ก็จะแทนเสียงโฆษะเช่นกัน ช่องที่มีเครื่องหมายดอกจันหมายถึงเสียงนั้น (ยัง) ไม่มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากลอย่างเป็นทางการ ช่องสีเทาแสดงว่าการออกเสียงเช่นนั้นไม่สามารถกระทำได้ สัญลักษณ์ [ʁ, ʕ, ʢ] แทนทั้งเสียงเสียดแทรกโฆษะและเสียงเปิดโฆษะ [h] และ [ɦ] ไม่ใช่เสียงเส้นเสียง เสียงเสียดแทรก หรือเสียงเปิดอย่างแท้จริง แต่เป็นการเปล่งเสียงพูด (phonation) มากกว่า พยัญชนะ (ไม่ใช้ลมปอด) แก้ไข เสียงเดาะ กักเส้นเสียงลมเข้า กักเส้นเสียงลมออก ʘ ริมฝีปาก ɓ ริมฝีปาก ʼ ตัวอย่าง: ǀ ฟัน ɗ ฟัน/ปุ่มเหงือก pʼ ริมฝีปาก ǃ (หลัง)ปุ่มเหงือก ʄ เพดานแข็ง tʼ ฟัน/ปุ่มเหงือก ǂ เพดานแข็ง ɠ เพดานอ่อน kʼ เพดานอ่อน ǁ ปุ่มเหงือก เปิดข้างลิ้น

ʛ ลิ้นไก่ sʼ เสียงแทรก ที่ปุ่มเหงือก

สระ แก้ไข

ตำแหน่งลิ้นในการออกเสียงสระ หน้า กลาง หลัง ปิด i y ɨ ʉ ɯ u ɪ ʏ - ʊ กึ่งปิด e ø ɘ ɵ ɤ o e̞ ø̞ ə ɤ̞ o̞ กึ่งเปิด ɛ œ ɜ ɞ ʌ ɔ æ ɐ เปิด a ɶ ä - ɑ ɒ ในตำแหน่งที่มีสัทธอักษรสองตัว อักษรทางขวาเป็นสระปากห่อ

สัญลักษณ์อื่นๆ ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ลิ้นปิดกล่องเสียง เพดานอ่อน เพดานแข็ง เสียดแทรก ʍ ɕ ʑ ʜ ʢ เปิด w ก้อง: ɥ กัก: ʡ ʃ กับ x พร้อมกัน: ɧ กระดกลิ้นแบบก้องเปิดข้างลิ้น: ɺ หากจำเป็น สามารถบรรยายเสียงกักเสียดแทรกและเสียงร่วมฐานกรณ์ได้โดยการเขียนเส้นโยงระหว่างอักษรทั้งสองตัว t͜s k͡p

เครื่องหมายเสริม แก้ไข ความเป็นพยางค์ในตัว ◌̩ ɹ̩ n̩ เป็นพยางค์ ◌̯ ɪ̯ ʊ̯ ไม่เป็นพยางค์ ◌̍ ɻ̍ ŋ̍ ◌̑ y̑ การปล่อยเสียง ◌ʰ tʰ เสียงพ่นลม ◌̚ p̚ ปล่อยโดยไร้เสียง ◌ⁿ dⁿ ปล่อยทางจมูก ◌ˡ dˡ ปล่อยทางข้างลิ้น การออกเสียงก้อง ◌̥ n̥ d̥ เสียงไม่ก้อง ◌̬ s̬ t̬ เสียงก้อง ◌̊ ɻ̊ ŋ̊ ◌̤ b̤ a̤ เสียงก้องต่ำทุ้ม ◌̰ b̰ a̰ เสียงก้องเครียด ตำแหน่งลิ้น ◌̪ t̪ d̪ สัมผัสฟัน ◌̼ t̼ d̼ เสียงลิ้นกับริมฝีปากบน ◌͆ ɮ͆ ◌̺ t̺ d̺ สัมผัสด้วยสุดปลายลิ้น ◌̻ t̻ d̻ สัมผัสด้วยปลายลิ้น ◌̟ u̟ t̟ ค่อนไปข้างหน้า ◌̠ i̠ t̠ ค่อนไปข้างหลัง ◌˖ ɡ˖ ◌˗ y˗ ŋ˗ ◌̈ ë ä ค่อนไปตรงกลาง ◌̽ e̽ ɯ̽ ค่อนไปที่ศูนย์กลาง ◌̝ e̝ r̝ สูงกว่าปกติ ◌̞ e̞ β̞ ต่ำกว่าปกติ ◌˔ ɭ˔ ◌˕ y˕ ɣ˕ การออกเสียงร่วม ◌̹ ɔ̹ x̹ ห่อปากมากกว่า ◌̜ ɔ̜ xʷ̜ ห่อปากน้อยกว่า ◌͗ y͗ χ͗ ◌͑ y͑ χ͑ʷ ◌ʷ tʷ dʷ ฐานกรณ์ร่วมที่ริมฝีปาก ◌ʲ tʲ dʲ ฐานกรณ์ร่วมที่เพดานแข็ง ◌ˠ tˠ dˠ ฐานกรณ์ร่วมที่เพดานอ่อน ◌̴ ɫ ᵶ ฐานกรณ์ร่วมที่ เพดานอ่อนหรือช่องคอ

◌ˤ tˤ aˤ ฐานกรณ์ร่วมที่ช่องคอ ◌̘ e̘ o̘ ยื่นโคนลิ้น ◌̙ e̙ o̙ หดโคนลิ้น ◌̃ ẽ z̃ นาสิก ◌˞ ɚ ɝ ปลายลิ้นม้วนกลับ เสียงวรรณยุกต์ แก้ไข ระดับคงที่ เปลี่ยนระดับ e̋ ˥ สูง ě ˩˥ ขึ้น é ˦ ค่อนข้างสูง ê ˥˩ ลง ē ˧ กลาง ᷄e ˧˥ ขึ้นจากระดับสูง è ˨ ค่อนข้างต่ำ ᷅e ˩˧ ขึ้นจากระดับต่ำ ȅ ˩ ต่ำ ᷈e ˧˦˨ ขึ้นแล้วลง ꜜ ลดระดับ ↗ ทำนองเสียงขึ้น ꜛ ยกระดับ ↘ ทำนองเสียงลง สัญลักษณ์ระบุลักษณะการออกเสียง แก้ไข ˈ เสียงเน้นหลัก ˌ เสียงเน้นรอง ː เสียงยาว ˑ เสียงกึ่งยาว ˘ เสียงสั้นพิเศษ . แยกพยางค์ของเสียง | กลุ่มย่อย (foot) ‖ กลุ่มหลัก (intonation) ‿ เสียงต่อเนื่อง วงเล็บเหลี่ยมและทับ แก้ไข การอธิบายถึงสัทอักษรสากล ใช้เครื่องหมายปิดหน้าหลังสองรูปแบบได้แก่

[วงเล็บเหลี่ยม] ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดการออกเสียงเชิงสัทศาสตร์ และอาจรวมถึงรายละเอียดที่อาจไม่สามารถใช้จำแนกคำในภาษาที่กำลังทับศัพท์ ซึ่งผู้เขียนก็ยังคงต้องการแสดงรายละเอียดเช่นนั้น /ทับ/ ใช้สำหรับกำกับหน่วยเสียง ซึ่งแตกต่างกันเป็นเอกเทศในภาษานั้น โดยไม่มีรายละเอียดที่ไม่เกี่ยวข้องใด ๆ ตัวอย่างเช่น หน่วยเสียง /p/ ในคำว่า pin และ spin ของภาษาอังกฤษ โดยแท้จริงออกเสียงแตกต่างกันเล็กน้อย ความแตกต่างนี้ไม่มีนัยสำคัญในภาษาอังกฤษ (แต่ก็อาจมีนัยสำคัญในภาษาอื่น) ดังนั้นการอธิบายการออกเสียงเชิงหน่วยเสียงจึงเป็น /pɪn/ และ /spɪn/ ซึ่งแสดงด้วยหน่วยเสียง /p/ เหมือนกัน อย่างไรก็ดี เพื่อให้เห็นความแตกต่างดังกล่าว (เสียงแปรต่าง ๆ ของ /p/) สามารถอธิบายเชิงสัทศาสตร์ได้เป็น [pʰɪn] และ [spɪn]

อ้างอิง แก้ไข Albright, Robert W. (1958). The International Phonetic Alphabet: Its background and development. International journal of American linguistics (Vol. 24, No. 1, Part 3) ; Indiana University research center in anthropology, folklore, and linguistics, publ. 7. Baltimore. (Doctoral dissertation, Standford University, 1953). Ball, Martin J.; Esling, John H.; & Dickson, B. Craig. (1995). The VoQS system for the transcription of voice quality. Journal of the International Phonetic Alphabet, 25 (2) , 71-80. Duckworth, M.; Allen, G.; Hardcastle, W.; & Ball, M. J. (1990). Extensions to the International Phonetic Alphabet for the transcription of atypical speech. Clinical Linguistics and Phonetics, 4, 273-280. Ellis, Alexander J. (1869-1889). On early English pronunciation (Parts 1 & 5). London: Philological Society by Asher & Co.; London: Trübner & Co. Hill, Kenneth C. (1988). [Review of Phonetic symbol guide by G. K. Pullum & W. Ladusaw]. Language, 64 (1) , 143-144. Hultzen, Lee S. (1958). [Review of The International Phonetic Alphabet: Its backgrounds and development by R. W. Albright]. Language, 34 (3) , 438-442. International Phonetic Association. (1989). Report on the 1989 Kiel convention. Journal of the International Phonetic Association, 19 (2) , 67-80. International Phonetic Association. (1999). Handbook of the International Phonetic Association: A guide to the use of the International Phonetic Alphabet. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-65236-7 (hb) ; ISBN 0-521-63751-1 (pb). Jespersen, Otto. (1889). The articulations of speech sounds represented by means of analphabetic symbols. Marburg: Elwert. Jones, Daniel. (1989). English pronouncing dictionary (14 ed.). London: Dent. Kelly, John. (1981). The 1847 alphabet: An episode of phonotypy. In R. E. Asher & E. J. A. Henderson (Eds.) , Towards a history of phonetics. Edinburgh: Edinburgh University Press. Kemp, J. Alan. (1994). Phonetic transcription: History. In R. E. Asher & J. M. Y. Simpson (Eds.) , The encyclopedia of language and linguistics (Vol. 6, pp. 3040-3051). Oxford: Pergamon. Ladefoged, Peter. (1990). The revised International Phonetic Alphabet. Language, 66 (3) , 550-552. Ladefoged, Peter; & Halle, Morris. (1988). Some major features of the International Phonetic Alphabet. Language, 64 (3) , 577-582. MacMahon, Michael K. C. (1996). Phonetic notation. In P. T. Daniels & W. Bright (Ed.) , The world's writing systems (pp. 821-846). New York: Oxford University Press. ISBN 0-19-507993-0. Passy, Paul. (1888). Our revised alphabet. The Phonetic Teacher, 57-60. Pike, Kenneth L. (1943). Phonetics: A critical analysis of phonetic theory and a technic for the practical description of sounds. Ann Arbor: University of Michigan Press. Pullum, Geoffrey K.; & Laduslaw, William A. (1986). Phonetic symbol guide. Chicago: University of Chicago Press. ISBN 0-226-68532-2. Sweet, Henry. (1880-1881). Sound notation. Transactions of the Philological Society, 177-235. Sweet, Henry. (1971). The indispensible foundation: A selection from the writings of Henry Sweet. Henderson, Eugénie J. A. (Ed.). Language and language learning 28. London: Oxford University Press. Wells, John C. (1987). Computer-coded phonetic transcription. Journal of the International Phonetic Association, 17, 94-114.

แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 21:01 วิกิพีเดีย เนื้อหาอนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้ CC BY-SA 4.0 เว้นแต่ระบุไว้เป็นอื่น นโยบายความเป็นส่วนตัว ข้อกำหนดการใช้งานคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ 49.237.36.143 04:42, 13 สิงหาคม 2566 (+07)[ตอบกลับ]