คาร์ทามิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คาร์ทามิน[1]
ชื่อ
IUPAC name
(2Z,6S)-6-β-D-Glucopyranosyl-2-[ [(3S)-3-β-D-glucopyranosyl-2,3,4-trihydroxy-5-[(2E)-3-(4-hydroxyphenyl)-1-oxo-2-propenyl]-6-oxo-1,4-cyclohexadien-1-yl]methylene]-5,6-dihydroxy-4-[(2E)-3-(4-hydroxyphenyl)-1-oxo-2-propenyl]-4-cyclohexene-1,3-dione
ชื่ออื่น
Carthamine
Carthamic acid
C.I. Natural Red 26
Safflower red
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.048.150 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1S/C43H42O22/c44-14-24-30(52)32(54)34(56)40(64-24)42(62)36(58)20(28(50)26(38(42)60)22(48)11-5-16-1-7-18(46)8-2-16)13-21-29(51)27(23(49)12-6-17-3-9-19(47)10-4-17)39(61)43(63,37(21)59)41-35(57)33(55)31(53)25(15-45)65-41/h1-13,24-25,30-35,40-41,44-48,50-57,62-63H,14-15H2/b11-5+,12-6+,21-13+,26-22+/t24-,25-,30-,31-,32+,33+,34-,35-,40?,41?,42+,43-/m1/s1 checkY
    Key: UZPQVEVQJJKELH-YOKGVFNOSA-N checkY
  • InChI=1/C43H42O22/c44-14-24-30(52)32(54)34(56)40(64-24)42(62)36(58)20(28(50)26(38(42)60)22(48)11-5-16-1-7-18(46)8-2-16)13-21-29(51)27(23(49)12-6-17-3-9-19(47)10-4-17)39(61)43(63,37(21)59)41-35(57)33(55)31(53)25(15-45)65-41/h1-13,24-25,30-35,40-41,44-48,50-57,62-63H,14-15H2/b11-5+,12-6+,21-13+,26-22+/t24-,25-,30-,31-,32+,33+,34-,35-,40?,41?,42+,43-/m1/s1
    Key: UZPQVEVQJJKELH-YOKGVFNOBD
  • Oc1ccc(cc1)/C=CC(\O)=C6\C(\O)=C(\C=C/4\C(=O)[C@](O)(C2O[C@H](CO)[C@@H](O)[C@H](O)[C@H]2O)C(=O)C(\C(=O)/C=C/c3ccc(O)cc3)=C\4\O)C(=O)[C@@](O)(C5O[C@H](CO)[C@@H](O)[C@H](O)[C@H]5O)C6=O
  • O=C(/C=C/C3=CC=C(O)C=C3)C(C(/C1=C/C2=C(O)[C@]([C@@]6([H])[C@H](O)[C@@H](O)[C@H](O)[C@@H](CO)O6)(O)C(O)=C(C(/C=C/C5=CC=C(O)C=C5)=O)C2=O)=O)=C(O)[C@]([C@]4([H])O[C@H](CO)[C@@H](O)[C@H](O)[C@H]4O)(O)C1=O
คุณสมบัติ
C43H42O72
มวลโมเลกุล 1710.737 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผงสีแดง
ละลายได้เล็กน้อย
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

คาร์ทามิน (อังกฤษ: carthamin) เดิมเรียก คาร์ทามีน (carthamine)[2] เป็นรงควัตถุสีแดงที่ได้จากดอกคำฝอย ใช้ในการย้อมสีและผสมอาหาร เมื่อใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหารจะรู้จักในชื่อ แนเชอรัลเรด 26 (Natural Red 26) คาร์ทามินใช้เป็นสีย้อมมาตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ[2] ใช้ย้อมสีในอุตสาหกรรมพรมในทวีปยุโรปและใช้เป็นเครื่องสำอางของเกอิชาและนักแสดงคะบุกิในญี่ปุ่น โดยเรียกว่า เบะนิ[3][4] คาร์ทามินประกอบไปด้วยสองแชลโคนอยด์จับกันทำให้มีสีแดง ได้จากชีวสังเคราะห์ของแชลโคน (2,4,6,4'-เตตระไฮดรอกซีแชลโคน) กับกลูโคสสองโมเลกุล จะได้แซฟเฟลอร์เยลโลว์เอและแซฟเฟลอร์เยลโลว์บี ซึ่งเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้พรีคาร์ทามินและคาร์ทามินในที่สุด[5]

ชีวสังเคราะห์ของคาร์ทามิน

อ้างอิง[แก้]

  1. Merck Index, 11th Edition, 1876
  2. 2.0 2.1 De Candolle, Alphonse. (1885.) Origin of cultivated plants. D. Appleton & Co.: New York, p. 164. Retrieved on 2007-09-25.
  3. Vankar, Padma S.; Tiwari, Vandana; Shanker, Rakhi; Shivani (2004). "Carthamus tinctorius (Safflower), a commercially viable dye for textiles". Asian Dyer. 1 (4): 25–27.
  4. Morse, Anne Nishimura, et al. MFA Highlights: Arts of Japan. Boston: Museum of Fine Arts Publications, 2008. p161.
  5. Man-Ho Cho; Young-Sook Paik; Tae-Ryong Hahn (2000). "Enzymatic Conversion of Precarthamin to Carthamin by a Purified Enzyme from the Yellow Petals of Safflower". J. Agric. Food Chem. 48 (9): 3917–3921. doi:10.1021/jf9911038. PMID 10995291.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]