คัลตาร์ กิลล์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คัลตาร์ กิลล์
ชื่อจริงคัลตาร์ กิลล์
ฉายาแบล็คแมมบา
รุ่นเวลเทอร์เวท
เกิด24 มีนาคม ค.ศ. 1979
ชกทั้งหมด19 (คิกบ็อกซิ่ง)
18 (แบบผสม)
ชนะ15 (คิกบ็อกซิ่ง)
10 (แบบผสม)
ชนะน็อก5 (คิกบ็อกซิ่ง)
6 (แบบผสม)
แพ้4 (คิกบ็อกซิ่ง)
8 (แบบผสม)

คัลตาร์ กิลล์ (อังกฤษ: Kultar Gill) หรือฉายา แบล็คแมมบา เกิดวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1979 ในเทศบาลตำบลมิชชั่น รัฐบริติชโคลัมเบีย เป็นนักมวยไทย และเป็นเป็นนักต่อสู้แบบผสมรุ่นเวลเทอร์เวทชาวอินเดีย ปัญจาบ-แคนาดา ซึ่งเป็นอดีตนักชกจากทีมเรโวลูชั่นไฟท์ ที่อยู่ในแวนคูเวอร์ บีซี.

ประวัติ[แก้]

คัลตาร์ กิลล์ ได้รับการกำหนดให้เข้าร่วมรายการแข่งขัน เค-วัน ฮีโร่ส์ 2007 มิดเดิลเวท กรังปรีด์ (70 กก.) ที่ซึ่งเขาได้ทำการสู้นัดรีแมทช์กับ คาโอล อูโนะ รอบเซมิไฟนอลในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 2007 เพื่อคัดเลือกผู้ชนะในการเข้าชกรอบไฟนอลภายหลังจากคืนนั้น อย่างไรก็ตามเขาพลาดการแข่งขันเนื่องจากอาการบาดเจ็บที่บริเวณไหล่[1]

กิลล์เริ่มมีชื่อเสียงภายหลังจากการชกกับอีเวส เอ็ดเวิร์ดส กับฮิเดโอะ โทโคโระ ทั้งสองครั้ง ซึ่งในการแข่งขันครั้งที่สองนี้เองที่เขาได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในด้านการป้องกันที่เพิ่มขึ้นได้อย่างเด่นชัด โดยชื่อเสียงในด้านนี้มาจากการที่เขามีทักษะด้านมวยไทยมาก่อน ในอดีตเขายังเคยมีทักษะด้านมวยปล้ำ ซึ่งเคยเป็นแชมเปี้ยนของบริติชโคลัมเบียเมื่อครั้งยังอยู่ในวัยหนุ่ม[ต้องการอ้างอิง]

ในการให้คำสัมภาษณ์ครั้งล่าสุด เขากล้าทำนายว่าจะสามารถเอาชนะน็อคภายในยกที่หนึ่ง หากเขาได้ชกในรายการรีแมทช์กับคาโอล อูโนะ[2]

ในการแข่งขันครั้งล่าสุด กิลล์ได้แพ้การแข่งกับ บัวขาว ป.ประมุข ในรายการเค-วันเวิลด์แมกซ์ ไฟนอล

สถิติการชก[แก้]

ผล แต้ม คู่ชก วิธี รายการ วันที่ ยก เวลา สถานที่
แพ้ 10-8 นอร์เวย์ โจอาชิม ฮันเซน ยอมแพ้ ดรีม.5 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2008 1 2:35 ญี่ปุ่น โอซาก้า-โจ ฮอล ญี่ปุ่น
แพ้ 10-7 ญี่ปุ่น ทัทสุยะ คาวาจิริ กรรมการตัดสิน (เป็นเอกฉันท์) ดรีม.1 - ไลท์เวทกรังปรีด์ 2008 คู่เปิดรายการ 15 มีนาคม ค.ศ. 2008 2 5:00 ญี่ปุ่น ไซตามะ ญี่ปุ่น
ชนะ 10-6 ญี่ปุ่น ฮิเดโอะ โทโคโระ TKO (ชก) เค-วัน ฮีโร่ส์ - มิดเดิลเวททัวร์นาเมนท์ คู่เปิดรายการ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 1 4:47 ญี่ปุ่น โยโกฮาม่า ญี่ปุ่น
แพ้ 9-6 ญี่ปุ่น คาซูยูกิ มิยาตะ ยอมแพ้ เค-วัน ฮีโร่ส์ 8 12 มีนาคม ค.ศ. 2007 1 3:38 ญี่ปุ่น นาโกย่า ญี่ปุ่น
แพ้ 9-5 บราซิล โรดริโก แดมม์ ยอมแพ้ โบด็อกไฟท์ - เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 16 ธันวาคม ค.ศ. 2006 2 2:11 รัสเซีย เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก รัสเซีย
แพ้ 9-4 ญี่ปุ่น คาโอล อูโนะ ยอมแพ้ เค-วัน ฮีโร่ส์ 6 5 สิงหาคม ค.ศ. 2006 2 3:30 ญี่ปุ่น โตเกียว ญี่ปุ่น
ชนะ 9-3 ญี่ปุ่น ฮิเดโอะ โทโคโระ KO (เข่า) เค-วัน ฮีโร่ส์ 5 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 1 0:43 ญี่ปุ่น โตเกียว ญี่ปุ่น
แพ้ 8-3 ญี่ปุ่น ไดซูเกะ ซูกิเอะ ยอมแพ้ ชูโตะ - GIG เซ็นทรัล 8 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 1 1:42 ญี่ปุ่น นาโกย่า ญี่ปุ่น
ชนะ 8-2 สหรัฐ แฮร์ริส ซาร์เมนโต้ ยอมแพ้ SB 39: เดสตินี่ 9 เมษายน ค.ศ. 2005 3 2:15 สหรัฐ ฮาวาย สหรัฐอเมริกา
แพ้ 7-2 บราซิล ฟาบิโอ ฮอแลนดา ยอมแพ้ TKO 17: รีเวนจ์ 25 กันยายน ค.ศ. 2004 1 3:00 แคนาดา ควิเบก แคนาดา
ชนะ 7-1 สหรัฐ เดฟ ริวาส ยอมแพ้ PXC 2: เคออส 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2004 2 1:10 กวม กวม
ชนะ 6-1 แคนาดา โดนัลด์ อุยเหม็ด ยอมแพ้ UCC 12: อะดรีนารีน 25 มกราคม ค.ศ. 2003 1 1:51 แคนาดา ควิเบก แคนาดา
ชนะ 5-1 แคนาดา เควิน โดแลน TKO (เข้าตี) MFC: อันปลั๊ก 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002 1 2:03 แคนาดา แอลเบอร์ตา แคนาดา
ชนะ 4-1 แคนาดา เดฟ สคอลเทน ยอมแพ้ เวิลด์ฟรีสไตล์ไฟท์ติ้ง 3 25 ตุลาคม ค.ศ. 2002 1 2:06 แคนาดา แวนคูเวอร์ บริติชโคลัมเบีย แคนาดา
แพ้ 3-1 ประเทศบาฮามาส อีเวส เอ็ดเวิร์ดส ยอมแพ้ โชกุน 1 15 ธันวาคม ค.ศ. 2001 2 2:49 สหรัฐ ฮาวาย สหรัฐอเมริกา
ชนะ 3-0 แคนาดา เทรเวอร์ มิคาเอลลิส ยอมแพ้ UFCF - เอเวอเรตต์ เอกซ์ตรีม ชาเลนจ์ 4 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001 1 แคนาดา บริติชโคลัมเบีย แคนาดา
ชนะ 2-0 แคนาดา แดน เชนค์ ยอมแพ้ เวสเทิร์น ฟรีสไตล์ แชมเปี้ยนชิป 15 กันยายน ค.ศ. 2001 1 แคนาดา บริติชโคลัมเบีย แคนาดา
ชนะ 1-0 สหรัฐ เจ.อาร์.วอลเลซ กรรมการตัดสิน (เป็นเอกฉันท์) เวสเทิร์น แคนาดา ทัชเชสท์ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 2001 3 แคนาดา แคนาดา

อ้างอิง[แก้]

  1. Bolduc, Justin (August 16, 2007). "HERO'S Grand Prix: Round Two". Nokaut. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-27. สืบค้นเมื่อ 2010-08-20.
  2. "A Conversation with Kultar Gill (3 Parts)". TAKECANCEROUT.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]