คริเอทีนิน
คริเอทีนิน | |
---|---|
![]() | |
![]() | |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [60-27-5][CAS] |
PubChem | |
EC number | |
UN number | 1789 |
DrugBank | DB11846 |
KEGG | |
MeSH | |
ChEBI | |
SMILES | |
InChI | |
Beilstein Reference | 112061 |
ChemSpider ID | |
3DMet | B00175 |
คุณสมบัติ | |
สูตรโมเลกุล | C4H7N3O |
มวลโมเลกุล | 113.12 g mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | White crystals |
ความหนาแน่น | 1.09 g cm−3 |
จุดหลอมเหลว |
300 °C, 573 K, 572 °F |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | 1 part per 12[1]
90 mg/mL at 20° C[2] |
log P | -1.76 |
pKa | 12.309 |
Basicity (pKb) | 1.688 |
จุดไอโซอิเล็กทริก | 11.19 |
อุณหเคมี | |
Std enthalpy of formation ΔfH |
−240.81–239.05 kJ mol−1 |
เอนทัลปีมาตรฐานของการเผาไหม้ (ΔcH
|
−2.33539–2.33367 MJ mol−1 |
Standard molar entropy S |
167.4 J K−1 mol−1 |
ความจุความร้อนจำเพาะ | 138.1 J K−1 mol−1 (at 23.4 °C) |
ความอันตราย | |
NFPA 704 | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
คริเอทีนิน หรือ คริเอทีนีน (อังกฤษ: Creatinine; /kriˈætɪnɪn/ หรือ /kriˈætɪniːn/; จาก กรีก: κρέας, อักษรโรมัน: kreas, แปลตรงตัว 'เนื้อหนังมังสา') เป็นผลผลิตจากการสลายครีเอทีนฟอสเฟทในกล้ามเนื้อและกระบวนการเมทาบอลิกของโปรตีน ร่างกายจะหลั่งคริเอทีนินออกมาด้วยอัตราคงที่ตลอด โดยอัตราการหลัง่นี้ขึ้นอยู่กับมวลกล้ามเนื้อของบุคคล[3][4]
เซรัมคริเอทีนิน (ระดับในเลือดของคริเอทีนิน) เป็นตัวระบถสุขภาพไตที่สำคัญ เนื่องจากเป็นสารที่ถูกขับโดยไตโดยไม่ผ่านการเปลี่ยนแปลงอีก คริเอทีนินสร้างขึ้น[5] จากกระบวนการทางชีวภาพที่เกี่ยวกับครีเอทีน, ฟอสฟอครีเอทีน และ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟท
การตีความ[แก้]
ในสหรัฐและรัฐยุโรปส่วนใหญ่ โดยทั่วไปรายงานผลค่าคริเอทีนินในหน่วย mg/dL (มิลลิกรัม/เดซิลิตร) ส่วนในแคนาดา, ออสเตรเลีย[6] และยุโรปบางรัฐนิยมใช้หน่วย μmol/L (ไมโครโมล/ลิตร) โดยคริเอทีนิน 1 mg/dL มีค่าเท่ากับ 88.4 μmol/L.
ช่วงอ้างอิงผลเลือดโดยทั่วไปสำหรับค่าเซรัมคริเอทีนินอยู่ที่ 0.5 mg/dL ถึง 1.0 mg/dL (ราว 45 μmol/L ถึง 90 μmol/L) ในผู้หญิง และ 0.7 mg/dL ถึง 1.2 mg/dL (60 μmol/L ถึง 110 μmol/L) ในผู้ชาย
ความเข้มขนของเซรัมคริเอทีนินอาจสูงขึ้นในผู้ทานเอซีอีอินฮิบิเทอร์ในโรคหัวใจล้มเหลว และ โรคไตเรื้อรัง ซึ่งอาจพบค่าคริเอทีนินอาจสูงขึ้นได้ถึง 30%[7]
เคมี[แก้]
ในทางเคมี ปรากฏเทาทอเมอร์ของคริเอทีนินดังนี้:
- 2-Amino-1-methyl-1H-imidazol-4-ol (or 2-amino-1-methylimidazol-4-ol)
- 2-Amino-1-methyl-4,5-dihydro-1H-imidazol-4-one
- 2-Imino-1-methyl-2,3-dihydro-1H-imidazol-4-ol (or 2-imino-1-methyl-3H-imidazol-4-ol)
- 2-Imino-1-methylimidazolidin-4-one
- 2-Imino-1-methyl-2,5-dihydro-1H-imidazol-4-ol (or 2-imino-1-methyl-5H-imidazol-4-ol)
คริเอทีนินสลายที่อุณหภูมิประมาณ 300 °C.
อ้างอิง[แก้]
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อMerck
- ↑ "Creatinine, anhydrous - CAS 60-27-5". Scbt.com.
- ↑ Creatinine in Mayo Clinic
- ↑ Lewis SL, Bucher L, Heitkemper MM, Harding MM, Kwong J, Roberts D (September 2016). Medical-surgical nursing : assessment and management of clinical problems (10th ed.). St. Louis, Missouri: Elsevier Health Sciences. p. 1025. ISBN 978-0-323-37143-8. OCLC 228373703.
- ↑ "What Is a Creatinine Blood Test? Low & High Ranges". Medicinenet.com. สืบค้นเมื่อ 21 September 2018.
- ↑ Faull R (2007). "Prescribing in renal disease". Australian Prescriber. 30 (1): 17–20. doi:10.18773/austprescr.2007.008.
- ↑ Ahmed A (July 2002). "Use of angiotensin-converting enzyme inhibitors in patients with heart failure and renal insufficiency: how concerned should we be by the rise in serum creatinine?". Journal of the American Geriatrics Society. 50 (7): 1297–300. doi:10.1046/j.1532-5415.2002.50321.x. PMID 12133029. S2CID 31459410.
แหล่งข้อมูอื่น[แก้]
- "Creatinine". Lab Tests Online.
- Marshall W (2012). "Creatinine: analyte monograph" (PDF). The Association for Clinical Biochemistry and Laboratory Medicine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 June 2020.