ความขัดแย้งตึกรัย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ข้อพิพาททีกราย)
ความขัดแย้งตึกรัย
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งในภูมิภาคฮอร์นออฟแอฟริกา

ที่ตั้งของภูมิภาคตึกรัยในประเทศเอธิโอเปีย
(สำหรับแผนที่ที่มีข้อมูลมากกว่านี้ สามารถดูที่นี่)
วันที่3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022
(2 ปี)
  • สงครามเต็มรูปแบบ:
    3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 – 24 มีนาคม ค.ศ. 2022
  • หยุดยิง:
    24 มีนาคม – 24 สิงหาคม ค.ศ. 2022
  • สงครามทวีความรุนแรงขึ้นอีกครั้ง:
    24 สิงหาคม – 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022
  • การฟื้นสัมพันธ์:
    3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022 – ปัจจุปัน
สถานที่
สถานะ

รัฐบาลและกลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยประชาชนตึกรัยตกลงอย่างเป็นทางการที่จะยุติการสู้รบและปลดอาวุธอย่างเป็นระบบและตรวจสอบได้ (2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022)[1][2] [3]

  • ข้อตกลงที่สองสำหรับการดำเนินการตามข้อตกลงสันติภาพที่ลงนามโดยทั้งสองฝ่าย (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022)[4][5][6]
คู่สงคราม
 เอธิโอเปีย

 เอริเทรีย (มีการกล่าวหา)
ภูมิภาคตึกรัย
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

เอธิโอเปีย อาบีย์ อาห์เม็ด
(นายกรัฐมนตรีเอธิโอเปีย)
เอธิโอเปีย บีร์นาฮู จูลา
(หัวหน้า ENDF)
เอธิโอเปีย คีเนีย ยาเดทา
(รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม)
Tiruneh Temesgen
(ผู้ว่าการภูมิภาคอัมฮารา ต้นเดือนพฤศจิกายน 2020)
Agegnehu Teshager
(ผู้ว่าการภูมิภาคอัมฮารา ปลายเดือนพฤศจิกายน 2020)
มูลู เนกา
(ผู้ว่าการภูมิภาคตึกรัยแต่งตั้งจากรัฐกลาง)
มีการกล่าวหา:

เอริเทรีย Isayas Afeworki
(ประธานาธิบดีเอริเทรัย)
เอริเทรีย Filipos Woldeyohannes
(รัฐมนตรีกลาโหม)
Debretsion Gebremichael
  • ประธานภูมิภาคตึกรัย
  • ประธาน TPLF

หน่วยที่เกี่ยวข้อง
เอธิโอเปีย กองกำลัลแห่งชาติเอธิโอเปีย

เอธิโอเปีย ตำรวจเอธิโอเปีย

ตำรวจภูมิภาคอัมฮารา


ตั้งรับ:

เอริเทรีย กองกำลังเอริเทรีย
  • กองกำลังพิเศษภูมิภาคตึกรัย
  • ตำรวจภูมิภาคตึกรัย
  • กองทัพย่อยภูมิภาคตึกรัย
[8][9][10][11]
ความสูญเสีย
เสียชีวิต 4770 ราย (ข้อมูลจากรัฐบาล)[12]
พลเมืองอย่างน้อย 4770 รายเสียชีวิต; หลายพันที่อาจเสียชีวิตแล้ว[13][14][15][16][17]

ความขัดแย้งตึกรัย (อังกฤษ: Tigray conflict) เป็นความขัดแย้งที่มีการสู้รบ เริ่มต้นขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2020 ในภูมิภาคตึกรัย ประเทศเอธิโอเปีย ระหว่างกองกำลังพิเศษภูมิภาคตึกรัยที่นำโดย แนวหน้าประชาชนตึกรัยเพื่ออิสรภาพ (TPLF) กับกองกำลังแห่งชาติเอธิโอเปีย (ENDF) ภายใต้พันธมิตรกับกองกำลังพิเศษภูมิภาคอัมฮารา[18]

ความขัดแย้งนี้มีที่มาจากความพยายามของนายกรัฐมนตรีเอธิโอเปีย อาบีย์ อาห์เม็ด ก็จะเปลี่ยนทิศทางการเมืองของประเทศเอธิโอเปียจากสหภาพชาติพันธุ์ ระบบที่ซึ่งมีการกระจายอำนาจและให้อิทธิพลระดับท้องถิ่นกับกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ โดยเขาต้องการจะรวมพรรคการเมืองท้องถิ่นและของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ของแนวหน้าประชาชนปฏิวัติประชาธิปไตยเอธิโอเปีย ซึ่งปกครองเอธิโอเปียเป็นเวลากว่า 30 ปี รวมกันเป็นพรรควิโรฒ พรรคเดียว

TPLF ซึ่งนำโดยเดเบรทซีออน เกเบรมิเคิล ได้คะแนนนำในการเลือกตั้งท้องถิ่นตึกรัยเมื่อเดือนกันยายน 2020 นำหน้ารัฐบาลสหพันธรัฐซึ่งต่อมาได้ประกาศให้การเลือกตั้งที่ตึกรัยไม่ชอบด้วยกฎหมาย[19]

อ้างอิง[แก้]

  1. "African Union: Agreement reached on permanent cessation of hostilities in Ethiopia". National Post. 2 November 2022.
  2. Winning, Alexander; Cocks, Tim (2 November 2022). "Combatants in Ethiopia's Tigray war agree to stop fighting". Reuters.
  3. Feleke, Bethlehem (3 November 2022). "Warring parties in Ethiopia agree on 'permanent cessation of hostilities'". CNN World.
  4. Mersie, Ayenat (12 November 2022). "Ethiopia combatants sign deal to start implementing truce". Reuters.
  5. https://english.aawsat.com/home/article/3983166/ethiopia-truce-implementation-start-%E2%80%98immediately%E2%80%99-mediator-says
  6. "Ethiopia Rivals Agree on Humanitarian Access for Tigray". International Business Times. 12 November 2022.
  7. "Wieder Luftangriffe der Armee in Tigray" (ภาษาเยอรมัน). Deutsche Welle. 9 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 9 November 2020.
  8. "Ethiopian troops 'liberate' key town in Tigray, claim officials". The Guardian. 17 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 17 November 2020.
  9. "Is the Horn of Africa facing a wider conflict?". Al Jazeera. 15 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
  10. "Air strikes in Ethiopia's Tigray region will continue, PM says". CNN. Reuters. 7 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 7 November 2020.
  11. Giulia Paravicini (November 18, 2020). "Ethiopian troops push for regional capital, rebels promise 'hell'". Reuters.
  12. "Ethiopia: 550 rebels dead as Tigray offensive continues". Anadolu Agency. 11 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 11 November 2020.
  13. "Ethiopia: Investigation reveals evidence that scores of civilians were killed in massacre in Tigray state". Amnesty International. 12 November 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 12 November 2020.
  14. "Ethiopia commission says Tigray youth group killed 600 civilians in November 9 attack". Nairobi. Reuters. November 24, 2020. สืบค้นเมื่อ November 24, 2020.
  15. "Tigray rebels say nine civilians killed in Ethiopian attack". Reuters. November 21, 2020.
  16. "Ethiopia crisis: Tigray leader vows to keep fighting as government advances". BBC.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ capture
  18. Paravicini, Giulia; Endeshaw, Dawit (4 November 2020). "Ethiopia sends army into Tigray region, heavy fighting reported". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2020. สืบค้นเมื่อ 4 November 2020.
  19. "Ethiopia appoints new Tigray leader, Amnesty reports 'massacre'". www.aljazeera.com.