ข้อถกเถียงเรื่องการรับเลือดบริจาคจากผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข้อถกเถียงเรื่องการรับเลือดบริจาคจากชายรักร่วมเพศ (อังกฤษ: gay male blood donor controversy) มีที่มาจากการที่มีการห้ามหรือปฏิเสธการบริจาคโลหิตหรืออวัยวะปลูกถ่ายจากชายรักร่วมเพศหรือผู้ชายที่ร่วมเพศกับผู้ชาย ซึ่งนับรวมถึงผู้ชายที่มีหรือเคยมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย ไม่ว่าชายคนนั้นจะถือว่าตัวเองเป็นเกย์ รักร่วมสองเพศ หรือกะเทย หรืออื่น ๆ ก็ตาม การปฏิเสธการรับบริจาคเลือดมักเรียกชายกลุ่มนี้รวม ๆ ว่าชายรักร่วมเพศ[ต้องการอ้างอิง] เดิมกลุ่มนี้ถูกจัดว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงว่าจะมีการติดเชื้อเอชไอวีหรือเอดส์ส่วนหนึ่งเนื่องจากการระบาดของเอดส์ในระยะแรกนั้นระบาดอยู่ในหมู่ชายรักร่วมเพศ รวมทั้งตับอักเสบบางชนิดด้วย ข้อห้ามเหล่านี้แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ

องค์กรเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศหลายองค์กรมองเงื่อนไขเหล่านี้ว่าเป็นผลจากความรังเกียจเพศที่สาม โดยไม่ได้มีเหตุผลทางการแพทย์เพียงพอ[1] องค์กรเหล่านี้ให้เหตุผลว่าเลือดที่ได้รับบริจาคนั้นผ่านการตรวจหาเชื้อโรคอย่างเข้มงวดแล้ว ข้อห้ามนี้จึงไม่มีความจำเป็น เป็นเหตุผลทางอคติมากกว่าที่จะเป็นเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ส่วนฝ่ายผู้เสนอเงื่อนไขนี้กล่าวว่าเงื่อนไขนี้มีขึ้นเนื่องจากความเสี่ยงที่จะเกิดผลลบลวง[2] ประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในประเทศที่พัฒนาแล้วจำนวนมากมีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีมากกว่ากลุ่มประชากรอื่น[3]

สถานการณ์ปัจจุบัน[แก้]

รายชื่อประเทศและสถานะการปฏิเสธการรับเลือดจากผู้บริจาคกลุ่ม MSM[แก้]

รายชื่อต่อไปนี้แสดงประเทศที่มีข้อห้ามว่าด้วยผู้บริจาคเลือด[4][5] มาตรฐานนานาชาติส่วนใหญ่กำหนดให้ต้องมีการถามประวัติทางเพศสัมพันธ์กับผู้ต้องการบริจาคโดยตรง และปฏิเสธการรับบริจาคจากผู้บริจาคที่เป็นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย แต่ระยะเวลาของการปฏิเสธนั้นแตกต่างกันไป

ประเทศ ระยะเวลาในการห้ามผู้ชาย
มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชายด้วยกัน
ก่อนการบริจาค
ระยะเวลาในการห้ามผู้หญิงมีเพศสัมพันธ์
กับชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
ก่อนการบริจาค
แหล่งอ้างอิง
 แอลจีเรีย ไม่มีกำหนด
 อาร์เจนตินา 1 ปี [4]
 ออสเตรเลีย 1 ปี 1 ปี [6]
 ออสเตรีย ไม่มีกำหนด [7]
 เบลเยียม ไม่มีกำหนด [8]
 บราซิล 1 ปี
 แคนาดา ไม่มีกำหนด [4]
 โครเอเชีย ไม่มีกำหนด [9]
 เช็กเกีย 1 ปี 1 ปี [10]
 เดนมาร์ก ไม่มีกำหนด
 เอสโตเนีย ไม่มีกำหนด
 ฟินแลนด์ ไม่มีกำหนด
 ฝรั่งเศส ไม่มีกำหนด
 เยอรมนี ไม่มีกำหนด [11]
 กรีซ ไม่มีกำหนด
 ฮ่องกง ไม่มีกำหนด [12]
 ฮังการี 1 ปี [4]
 ไอซ์แลนด์ ไม่มีกำหนด
 ไอร์แลนด์ ไม่มีกำหนด
 อิสราเอล ไม่มีกำหนด
 อิตาลี ไม่มีการแบน [4]
 ญี่ปุ่น 1 ปี [4]
 มอลตา ไม่มีกำหนด
 เม็กซิโก ไม่มีการแบน [13]
 เนเธอร์แลนด์ ไม่มีกำหนด [14]
 นิวซีแลนด์ 5 ปี 1 ปี [4][15]
 นอร์เวย์ ไม่มีกำหนด
 โปแลนด์ ไม่มีการแบน A [4][16][17][18]
 โปรตุเกส ไม่มีกำหนด
 ฟิลิปปินส์ ไม่มีกำหนด
 แอฟริกาใต้ 6 เดือน [4]
 สโลวีเนีย ไม่มีกำหนด [19]
 สเปน ไม่มีการแบน [4]
 สวีเดน 1 ปี [20]
 สวิตเซอร์แลนด์ ไม่มีกำหนด
 ไทย ไม่มีกำหนดB ไม่มีกำหนดB [21][22]
 ตุรกี ไม่มีกำหนด
 บริเตนใหญ่ 1 ปี [23]
 สหรัฐ ไม่มีกำหนด C 1 ปี [4]
 อุรุกวัย ไม่มีการแบน [4]
 เวเนซุเอลา ไม่มีกำหนด D ไม่มีการแบน

หมายเหตุ[แก้]

  • ^A People of any sexual orientation involved in any kind of sexual activity are welcome to donate blood, if they are confident that their sexual behaviour is safe and does not expose them to sexually transmitted diseases by i.e. unprotected sex with non-trusted partners, regardless of sexual orientation.
  • ^b ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ระบุคุณสมบัติผู้บริจาคโลหิตไว้ประการหนึ่งว่า "ท่านหรือคู่ครองของท่านต้องไม่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ หรือเบี่ยงเบนทางเพศ" และยังคงมีคำถามในแบบสอบถามก่อนการบริจาคโลหิต ที่ถามถึงพฤติกรรมทางเพศว่าท่านหรือคู่ครองของท่านเป็นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายหรือไม่ โดยไม่คำนึงถึงช่วงเวลาที่ได้มีเพศสัมพันธ์ในลักษณะดังกล่าว
  • ^C No restriction if last MSM activity was before 1977.
  • ^D Individuals are requested to fill a "Yes/No" questionnaire about his/her sexual life. Direct questions like "Have you ever had any sexual intercourse with someone from your same sex?" may appear.

อ้างอิง[แก้]

  1. Schoettes, Scott (December 2012). "Blood Donations Questions". Adelante Magazine.
  2. Stier, Jeff (2007-06-13). "Blood for Sale". HuffingtonPost.com, Inc. สืบค้นเมื่อ 2008-04-05.
  3. UNAIDS 2006 report on the global AIDS epidemic, Chapter 05, June 2006
  4. 4.00 4.01 4.02 4.03 4.04 4.05 4.06 4.07 4.08 4.09 4.10 4.11 Clive R. Seed, Philip Kiely, Mathew Law, and Anthony J. Keller (December 2010). "No evidence of a significantly increased risk of transfusion-transmitted human immunodeficiency virus infection in Australia subsequent to implementing a 12-month deferral for men who have had sex with men". Transfusion. AABB. 50: 2722–2730. doi:10.1111/j.1537-2995.2010.02793.x.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. "Mclaughlin Report on Risk Management for Canadian Blood Services" (PDF). McLaughlin Center for Population Health Risk Assessment, University of Ottawa. 2007-01-31. p. 28. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-06-25. สืบค้นเมื่อ 2008-05-25.
  6. "FAQs - Who can give". Australian Red Cross Blood Service. 18 April 2012. สืบค้นเมื่อ 7 June 2012.
  7. "Rotes Kreuz: Wer darf Blutspenden?". Roteskreuz.at. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  8. "Avis du CSH relatif a` la sécurisation maximale de la collecte et de la transfusion sanguine (CSH 8094)" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). บรัสเซลส์: FPS Health Belgium. 2005-02-18. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-20. สืบค้นเมื่อ 2009-09-24.
  9. Ministry of Health (Croatia) (1998-12-16). "Pravilnik o krvi i krvnim sastojcima" [Bylaw for blood and its contents] (ภาษาโครเอเชีย). Narodne novine. สืบค้นเมื่อ 2011-07-18. E`lanak 16. Trajno se iskljue`uju kao davatelji krvi: [...] osobe sa homoseksualnim ponašanjem [...]
  10. "Doporue`ení Spolee`nosti pro transfuzní léka?ství E`LS JEP e`. STL2007_03 ze dne 12. 4. 2007 verze 6 (2012_04)" (ภาษาเช็ก). Spolee`nost pro transfuzní léka?ství E`LS JEP. p. 8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (DOC)เมื่อ 2013-03-18. สืบค้นเมื่อ 2013-02-07.
  11. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-06. สืบค้นเมื่อ 2013-02-28.
  12. "What should you know about the Health history Enquiry in Blood Donation?" (PDF) (ภาษาจีน และ อังกฤษ). เขตบริหารพิเศษฮ่องกง: Hong Kong Red Cross Blood Transfusion Service. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-09-17. สืบค้นเมื่อ 2011-08-14.
  13. http://www.pinknews.co.uk/2012/12/27/mexico-lifts-ban-on-gay-men-donating-blood/
  14. TFE, tfe.nl (2011-12-23). "Bloed geven - Risicofactoren hiv mannen | Sanquin Bloedvoorziening". Sanquin.nl. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  15. "Detailed Eligibility Criteria". New Zealand Blood Service. สืบค้นเมื่อ 21 April 2015.
  16. "Internetowy System Aktów Prawnych". Isap.sejm.gov.pl. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  17. "Narodowe Centrum Krwi: Nie be^dziemy dyskryminowa? homoseksualistów". Wiadomosci.gazeta.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-06-29. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  18. "Honorowe krwiodawstwo me^?czyzn homo- i biseksualnych. Fakty i mity". Kph.org.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-14. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  19. "The Republic of Slovenia Institute for Transfusion: Who cannot donate blood". Ztm.si. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-18. สืบค้นเมื่อ 2012-07-20.
  20. "Gay men blood donor ban to be lifted". BBC News. 2011-09-08.
  21. "เป็นเกย์บริจาคเลือดไม่ได้หรอ". สภากาชาดไทย. 2013-02-26. สืบค้นเมื่อ 2014-11-21.
  22. "คุณสมบัติผู้บริจาคโลหิต". ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-20. สืบค้นเมื่อ 2014-11-21.
  23. "Donor selection criteria review". Department of Health and SaBTO, Blood Donor Selection Steering Group. สืบค้นเมื่อ 8 September 2011.