ยกน้ำหนักชิงแชมป์โลก 2007

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยกน้ำหนักชิงแชมป์โลก 2007
ข้อมูลการแข่งขัน
ผู้ชนะเลิศปัจจุบัน

การแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดช ครบรอบ 80 พรรษา (อังกฤษ: Royal World Weightlifting Championships 2007) จัดขึ้นที่ ยิมเนเซียมภายในสนาม 700 ปีเชียงใหม่, จังหวัดเชียงใหม่. เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 17–26 กันยายน, พ.ศ. 2550.

คำขวัญและสัญลักษณ์[แก้]

สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ[แก้]

สัญลักษณ์นำโชค[แก้]

สัญลักษณ์กีฬา[แก้]

เพลงประจำการแข่งขัน[แก้]

ผลการแข่งขัน[แก้]

ผู้ชาย[แก้]

Event เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
56 kg (รายละเอียด)
Snatch Li Zheng
 จีน
130 kg Cha Kum-Chol
 เกาหลีเหนือ
128 kg Hoang Anh Tuan
 เวียดนาม
127 kg
Clean & Jerk Sergio Álvarez
 คิวบา
156 kg Cha Kum-Chol
 เกาหลีเหนือ
155 kg Eko Yuli Irawan
 อินโดนีเซีย
154 kg
Total Cha Kum-Chol
 เกาหลีเหนือ
283 kg Li Zheng
 จีน
283 kg Eko Yuli Irawan
 อินโดนีเซีย
278 kg
62 kg (รายละเอียด)
Snatch Yang Fan
 จีน
142 kg Im Yong-Su
 เกาหลีเหนือ
142 kg Ivaylo Filev
 บัลแกเรีย
138 kg
Clean & Jerk Yang Fan
 จีน
173 kg Im Yong-Su
 เกาหลีเหนือ
173 kg Ivaylo Filev
 บัลแกเรีย
163 kg
Total Yang Fan
 จีน
315 kg Im Yong-Su
 เกาหลีเหนือ
315 kg Ivaylo Filev
 บัลแกเรีย
301 kg
69 kg (รายละเอียด)
Snatch Shi Zhiyong
 จีน
158 kg Zhang Guozheng
 จีน
155 kg Mete Binay
 ตุรกี
154 kg
Clean & Jerk Zhang Guozheng
 จีน
192 kg Vencelas Dabaya
 ฝรั่งเศส
187 kg Kim Chol-Jin
 เกาหลีเหนือ
185 kg
Total Zhang Guozheng
 จีน
347 kg Shi Zhiyong
 จีน
338 kg Demir Demirev
 บัลแกเรีย
334 kg
77 kg (รายละเอียด)
Snatch Li Hongli
 จีน
166 kg Gevorg Davtyan
 อาร์มีเนีย
164 kg Oleg Perepetchenov
 รัสเซีย
163 kg
Clean & Jerk Ivan Stoitsov
 บัลแกเรีย
205 kg Kim Kwang-Hoon
 เกาหลีใต้
201 kg Sa Jae-Hyouk
 เกาหลีใต้
200 kg
Total Ivan Stoitsov
 บัลแกเรีย
363 kg Gevorg Davtyan
 อาร์มีเนีย
362 kg Li Hongli
 จีน
361 kg
85 kg (รายละเอียด)
Snatch Andrei Rybakou
 เบลารุส
187 kg
WR
Aslanbek Ediev
 รัสเซีย
172 kg Georgi Markov
 บัลแกเรีย
172 kg
Clean & Jerk Andrei Rybakou
 เบลารุส
206 kg José Oliver Ruíz
 โคลอมเบีย
205 kg Jadier Valladares
 คิวบา
201 kg
Total Andrei Rybakou
 เบลารุส
393 kg Aslanbek Ediev
 รัสเซีย
372 kg Vadzim Straltsou
 เบลารุส
370 kg
94 kg (รายละเอียด)
Snatch Roman Konstantinov
 รัสเซีย
177 kg Eduard Tyukin
 คาซัคสถาน
176 kg Eugen Bratan
 มอลโดวา
175 kg
Clean & Jerk Yoandry Hernández
 คิวบา
220 kg Roman Konstantinov
 รัสเซีย
220 kg Szymon Kołecki
 โปแลนด์
219 kg
Total Roman Konstantinov
 รัสเซีย
397 kg Yoandry Hernández
 คิวบา
393 kg Szymon Kołecki
 โปแลนด์
392 kg
105 kg (รายละเอียด)
Snatch Andrei Aramnau
 เบลารุส
195 kg Bakhyt Akhmetov
 คาซัคสถาน
190 kg Martin Tešovič
 สโลวาเกีย
190 kg
Clean & Jerk Alan Tsagaev
 บัลแกเรีย
231 kg Andrei Aramnau
 เบลารุส
228 kg Nikolaos Kourtidis
 กรีซ
226 kg
Total Andrei Aramnau
 เบลารุส
423 kg Alan Tsagaev
 บัลแกเรีย
411 kg Dmitry Klokov
 รัสเซีย
411 kg
+105 kg (รายละเอียด)
Snatch Viktors Ščerbatihs
 ลัตเวีย
202 kg Evgeny Chigishev
 รัสเซีย
201 kg Velichko Cholakov
 บัลแกเรีย
201 kg
Clean & Jerk Evgeny Chigishev
 รัสเซีย
240 kg Jaber Saeed Salem
 กาตาร์
240 kg Viktors Ščerbatihs
 ลัตเวีย
240 kg
Total Viktors Ščerbatihs
 ลัตเวีย
442 kg Evgeny Chigishev
 รัสเซีย
441 kg Jaber Saeed Salem
 กาตาร์
435 kg

ผู้หญิง[แก้]

Event เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
48 kg (รายละเอียด)
Snatch Chen Xiexia
 จีน
96 kg Pramsiri Bunphithak
 ไทย
86 kg Nurcan Taylan
 ตุรกี
85 kg
Clean & Jerk Chen Xiexia
 จีน
118 kg Pensiri Laosirikul
 ไทย
112 kg Pramsiri Bunphithak
 ไทย
110 kg
Total Chen Xiexia
 จีน
214 kg Pramsiri Bunphithak
 ไทย
196 kg Pensiri Laosirikul
 ไทย
195 kg
53 kg (รายละเอียด)
Snatch Yoon Jin-Hee
 เกาหลีใต้
94 kg Nastassia Novikava
 เบลารุส
94 kg Li Ping
 จีน
93 kg
Clean & Jerk Li Ping
 จีน
126 kg Nastassia Novikava
 เบลารุส
119 kg Yoon Jin-Hee
 เกาหลีใต้
117 kg
Total Li Ping
 จีน
219 kg Nastassia Novikava
 เบลารุส
213 kg Yoon Jin-Hee
 เกาหลีใต้
207 kg
58 kg (รายละเอียด)
Snatch Marina Shainova
 รัสเซีย
105 kg Qiu Hongmei
 จีน
103 kg O Jong-Ae
 เกาหลีเหนือ
100 kg
Clean & Jerk Qiu Hongmei
 จีน
135 kg Marina Shainova
 รัสเซีย
132 kg O Jong-Ae
 เกาหลีเหนือ
127 kg
Total Qiu Hongmei
 จีน
238 kg Marina Shainova
 รัสเซีย
237 kg O Jong-Ae
 เกาหลีเหนือ
227 kg
63 kg (รายละเอียด)
Snatch Liu Haixia
 จีน
115 kg Svetlana Tsarukayeva
 รัสเซีย
115 kg Pak Hyon-Suk
 เกาหลีเหนือ
105 kg
Clean & Jerk Liu Haixia
 จีน
142 kg Pak Hyon-Suk
 เกาหลีเหนือ
135 kg Svetlana Tsarukayeva
 รัสเซีย
135 kg
Total Liu Haixia
 จีน
257 kg
WR
Svetlana Tsarukayeva
 รัสเซีย
250 kg Pak Hyon-Suk
 เกาหลีเหนือ
240 kg
69 kg (รายละเอียด)
Snatch Liu Chunhong
 จีน
121 kg Oksana Slivenko
 รัสเซีย
120 kg Nataliya Davydova
 ยูเครน
114 kg
Clean & Jerk Oksana Slivenko
 รัสเซีย
156 kg Liu Chunhong
 จีน
150 kg Hong Yong-Ok
 เกาหลีเหนือ
133 kg
Total Oksana Slivenko
 รัสเซีย
276 kg
WR
Liu Chunhong
 จีน
271 kg Nataliya Davydova
 ยูเครน
244 kg
75 kg (รายละเอียด)
Snatch Natalia Zabolotnaya
 รัสเซีย
131 kg
WR
Cao Lei
 จีน
128 kg Nadezhda Yevstyukhina
 รัสเซีย
128 kg
Clean & Jerk Cao Lei
 จีน
158 kg Nadezhda Yevstyukhina
 รัสเซีย
150 kg Natalia Zabolotnaya
 รัสเซีย
150 kg
Total Cao Lei
 จีน
286 kg Natalia Zabolotnaya
 รัสเซีย
281 kg Nadezhda Yevstyukhina
 รัสเซีย
278 kg
+75 kg (รายละเอียด)
Snatch Mu Shuangshuang
 จีน
139 kg Jang Mi-Ran
 เกาหลีใต้
138 kg Olha Korobka
 ยูเครน
126 kg
Clean & Jerk Jang Mi-Ran
 เกาหลีใต้
181 kg Mu Shuangshuang
 จีน
180 kg Olha Korobka
 ยูเครน
155 kg
Total Jang Mi-Ran
 เกาหลีใต้
319 kg Mu Shuangshuang
 จีน
319 kg
WR
Olha Korobka
 ยูเครน
281 kg

สรุปเหรียญการแข่งขัน[แก้]

Ranking by Big (Total result) medals

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงของประเทศจีน จีน 7 4 1 12
2 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2 5 2 9
3 ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส 2 1 1 4
4 ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 1 1 2 4
ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 1 1 2 4
6 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1 0 1 2
7 ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 1 0 0 1
8  ไทย 0 1 1 2
9 ธงของประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 0 1 0 1
ธงของประเทศคิวบา คิวบา 0 1 0 1
11 ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 0 0 2 2
12 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 0 0 1 1
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 0 0 1 1
ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ 0 0 1 1
Total 15 15 15 45

Ranking by all medals: Big (Total result) and Small (Snatch and Clean & Jerk)

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ธงของประเทศจีน จีน 22 9 2 33
2 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 7 12 6 25
3 ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส 5 4 1 10
4 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 2 3 8
5 ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 3 1 6 10
6 ธงของประเทศคิวบา คิวบา 2 1 1 4
7 ธงของประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 2 0 1 3
8 ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 1 6 7 14
9  ไทย 0 3 2 5
10 ธงของประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 0 2 0 2
ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 0 2 0 2
12 ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์ 0 1 1 2
13 ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 0 1 0 1
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 0 1 0 1
15 ธงของประเทศยูเครน ยูเครน 0 0 5 5
16 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 0 0 2 2
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 0 0 2 2
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี 0 0 2 2
19 ธงของประเทศกรีซ กรีซ 0 0 1 1
ธงของประเทศมอลโดวา มอลโดวา 0 0 1 1
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 0 0 1 1
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม 0 0 1 1
Total 45 45 45 135

อันดับคะแนนรวม[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน[แก้]

นักกีฬาที่ทำการแข่งขัน 580 คนจาก 82 ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน.

สิทธิการออกอากาศ[แก้]

ในส่วนของการถ่ายทอดสดการแข่งขันครั้งนี้ ทางอาร์.เอส.บีเอส (RSBS) ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการเป็นผู้ผลิตสัญญาณออกอากาศ และ ถ่ายทอดการแข่งขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งโลก ผ่านทางสถานีโทรทัศน์หลัก (ฟรีทีวี) โดยหมุนเวียนการถ่ายทอดสด และ การถ่ายทอดสดทุกรอบจะไม่มีโฆษณาคั่น[1] [2]

อนึ่ง สมาคมยกน้ำหนักแห่งประเทศไทย เซ็นสัญญาขายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดการแข่งขันให้แก่ บริษัท ควีนส์เบอรี มีเดีย จำกัด ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการเป็นผู้ผลิตสัญญาณออกอากาศ และ ถ่ายทอดสดไปยัง 5 ทวีป 143 ประเทศทั่วโลก

เกร็ดการแข่งขัน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. อาร์เอสบีเอสยิงสดยกนำหนักชิงแชมป์โลก
  2. "RS เดินหน้าธุรกิจ content หวังเพิ่มอัตรากำไรขั้นต้นปีนี้เป็น 40-45%". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2013-06-26.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]