การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศบราซิล พ.ศ. 2561
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
![]() | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||||
การหยั่งเสียง | |||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 79.67% (รอบหนึ่ง) 78.7% (รอบสอง)[1] | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
![]() แผนที่ของผู้ลงคะแนนตามรัฐในประเทศบราซิลที่การเลือกตั้ง | |||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งเป็นการทั่วไป เป็นการเลือกตั้งในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561 โดยเป็นการลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกประธานาธิบดี, รองประธานาธิบดี และสมาชิกวุฒิสภาสำหรับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ นอกจากนี้ยังมีการเลือกผู้ว่าราชการ, รองผู้ว่าราชการ, สมาชิกสมัชชา และสมาชิกสภานิติบัญญัติประจำรัฐ ในเวลาใกล้เคียงกัน
เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2561 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากรัฐรีโอเดจาเนโร ฌาอีร์ โบลโซนารู ได้รับการเลือกตั้งในรอบหนึ่ง โดยเขามีคะแนนทิ้งห่างอดีตนายกเทศมนตรีเมืองเซาเปาลู เฟอร์นันโด ฮัดดาด[3] การเลือกตั้งครั้งสองจัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561 เวลา 22:06 น. ตามเวลามาตรฐานกรีนิช โดยมีการรายงานว่าฌาอีร์ โบลโซนารู ได้ไปร้อยละ 88% ประกาศว่าเป็นผู้ชนะในการเลือกตั้งด้วยคะแนนเลือกรวมกว่า 50%[4]
ผลคะแนน[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Disclosure of Election Results". Superior Electoral Court. สืบค้นเมื่อ 29 October 2018.
- ↑ News, ABC. "International News: Latest Headlines, Video and Photographs from Around the World -- People, Places, Crisis, Conflict, Culture, Change, Analysis and Trends". ABC News.
- ↑ "Brazil right-wing presidential candidate wins vote but runoff likely".
- ↑ Lyons, Kate; Phillips, Tom; Phillips, Tom (29 October 2018). "Far-right candidate Jair Bolsonaro wins presidential vote – as it happened" – โดยทาง www.theguardian.com.
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ The original candidate Luiz Inácio Lula da Silva was barred from running by the Superior Electoral Court on 31 August 2018, in accordance with the Clean Slate law.[2]
- ↑ Born in São Paulo, electoral based in Rio de Janeiro
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: การเลือกตั้งบราซิล พ.ศ. 2561 |
เว็บไซต์หาเสียงอย่างเป็นทางการ[แก้]
- Geraldo Alckmin (PSDB, DEM, PP, PR, PRB, SD, PTB, PSD, PPS) para Presidente
- João Amoêdo (NOVO) para Presidente
- Jair Bolsonaro (PSL, PRTB) para Presidente
- Guilhemere Boulos (PSOL, PCB) para Presidente
- Álvaro Dias (PODE, PSC, PTC, PRP) para Presidente
- José Maria Eymael (DC) para Presidente
- Ciro Gomes (PDT, AVANTE) para Presidente
- Fernando Haddad (PT, PROS, PCdoB) para Presidente
- Vera Lúcia (PSTU) para Presidente
- Henrique Meirelles (MDB, PHS) para Presidente
- Marina Silva (REDE, PV) para Presidente