การทัพของฝรั่งเศสในอียิปต์และซีเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การทัพในอียิปต์
ส่วนหนึ่งของ การทัพเมดิเตอร์เรเนียน ค.ศ. 1798

ยุทธการแห่งพีรามิด
วันที่1 กรกฎาคม ค.ศ. 1798 – 2 กันยายน ค.ศ. 1801
(3 ปี 2 เดือน 1 วัน)
สถานที่
ผล

ชัยชนะตกเป็นของออตโตมัน-บริติซ

  • ฝรั่งเศสได้นำทัพเข้าอียิปต์และถือเป็นการสิ้นสุดกฎเมมเล็ค
  • ฝรั่งเศสไม่สามารถนำทัพเข้าสู่ซีเรียได้
  • การจัดตั้งคณะบริหารของฝรั่งเศสได้เกิดขึ้นในอียิปต์
คู่สงคราม

จักรวรรดิออตโตมัน

 บริเตนใหญ่
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

ซาริมที่ 3
คอร์ ยูซิป ซิยุนดิ พาชาร์
มุสตาชัค พาชาร์
เจซาร์ พาชาร์
มูราท เบย์
อูบลิม เบย์
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ วิเลียม ซิดนีย์ สมิทร์
ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ ราฟล์ เอบอร์คลอมบี (DOW)

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ โฮราชิโอ เนลสัน

นโปเลียน โบนาปาร์ต
ฌ๋อง บ็อบติเต คิแบร์ 
โทมัส-อเล็กซานดรี ดูมัส
จีฌ็อง- ฟรานชัว เมนัว Surrendered

ฌ็อง ลาน
กำลัง

จักรวรรดิออตโตมัน: 220,000 คน

  • กองทัพอียิปต์: 80,001 คน
  • กองทัพโรดเด็ส: 20,000 คน
  • กองทัพซีเรีย: 20,000 คน
  • กองทัพแห่งตะวันออก: 30,000 คน
  • กองจู่โจมที่สองแห่งอียิปต์: 60,000 คน
บริเตนใหญ่: 30,000 คน
ชาย 40,000+ คน
ความสูญเสีย
เสียชีวิตหรือไม่ก็บาดเจ็บ 50,000 คน[1]
เชลย 15,000 คน[1]
เสียชีวิตและบาดเจ็บ 15,000 คน[1]
เชลย 8,500 คน[1]

การทัพของฝรั่งเศสในอียิปต์และซีเรีย (อังกฤษ: French campaign in Egypt and Syria; ค.ศ. 1798–1801) เป็นการทัพของนโปเลียน โบนาปาร์ตในพื้นที่ดินแดนออตโตมันซึ่งประกอบไปด้วยอียิปต์และซีเรีย เพื่อปกป้องผลประโยชน์ทางการค้าของฝรั่งเศสและจัดตั้งองค์กรทางวิทยาศาสตร์ในภูมิภาค การทัพนี้ยังเป็นอีกหนึ่งของจุดประสงค์หลักของการเกิดการทัพเมดิเตอร์เรเนียน ค.ศ. 1798 ซึ่งเป็นการยุทธวิธีทางการทัพเรือรวมถึงการยึดเกาะมอลตาและเกาะครีตของกรีก ต่อมาถึงท่าเรืออเล็กซานเดรีย การทัพจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของนโปเลียนซึ่งนำไปสู่การถอนทหารฝรั่งเศสออกจากภูมิภาค

ในด้านวิทยาศาสตร์ การสำรวจนำไปสู่การค้นพบศิลาโรเซตตา ทำให้เกิดสาขาอียิปต์วิทยา แม้จะได้รับชัยชนะและการเดินทางสู่ซีเรียที่ประสบความสำเร็จในขั้นต้น แต่ในที่สุดนโปเลียนและกองทัพของเขาก็พ่ายแพ้และถูกบังคับให้ถอนกำลัง โดยเฉพาะหลังจากกองเรือฝรั่งเศสประสบกับความพ่ายแพ้ในยุทธการที่แม่น้ำไนล์

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Warfare and Armed Conflicts: A Statistical Encyclopedia of Casualty and Other Figures, 1492-2015. p. 106.

บรรณานุกรม[แก้]