การรุกของฝ่ายสัมพันธมิตรจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์
(เปลี่ยนทางจาก การรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์)
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
การทัพแนวซีกฟรีด | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
![]() กลุ่มทหารสหรัฐได้เคลื่อนที่ผ่านแนวซีกฟรีด. | |||||||
| |||||||
คู่ขัดแย้ง | |||||||
สัมพันธมิตรตะวันตก![]() ![]() ![]() ![]() ![]() และอื่นๆ |
![]() | ||||||
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ | |||||||
![]() (SHAEF) ![]() (21st Army Group) ![]() (12th Army Group) ![]() (6th Army Group) |
![]() (Oberbefehlshaber West) ![]() (กองทัพกลุ่ม B) | ||||||
กำลัง | |||||||
4.5 million troops (91 divisions)[1] | ~1,500,000 troops[ต้องการอ้างอิง] | ||||||
กำลังพลสูญเสีย | |||||||
U.S.: 240,082 casualties (50,410 killed, 172,450 wounded, 24,374 captured or missing) (15 September 1944 – 21 March 1945) U.K. |
400,000+ casualties[3]
|
การรุกจากปารีสถึงแม่น้ำไรน์ของฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นยุทธวีธีหนึ่งในแนวรบตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง
ช่วงนั้นอยู่ในช่วงท้ายของการรบในนอร์มังดีหรือปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (25 สิงหาคม 1944),เยอรมันได้รวบรวมกองกำลังในการรุกโต้ตอบในช่วงฤดูหนาวผ่านป่าอาร์แดน (เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปคือ ยุทธการตอกลิ่ม) และปฏิบัติการ Nordwind (ใน Alsace และ Lorraine).ถึงสัมพันธมิตรได้เตรียมความพร้อมที่จะข้ามแม่น้ำไรน์ในช่วงต้นเดือน ปี 1945.ประมาณตรงคร่าวๆด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทหาร หน่วยปฏิบัติการยุโรปของกองทัพสหรัฐอเมริกา (ETOUSA) ของการทัพไรน์และอาร์แดน-Alsace
อ้างอิง[แก้]
- ↑ MacDonald, C (2005), The Last Offensive: The European Theater of Operations. University Press of the Pacific, p.322
- ↑ http://cgsc.cdmhost.com/cdm4/document.php?CISOROOT=/p4013coll8&CISOPTR=130&REC=2 Army Battle Casualties and Nonbattle deaths in World War II p.93
- ↑ Zaloga, Steve, and Dennis, Peter (2006). Remagen 1945: endgame against the Third Reich. Oxford: Osprey Publishing. ISBN 1-84603-249-0. Page 88.